Page 38 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 38
4-28 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา
เรยี นตอ่ ไจปาโกดนยั้นกจ�ำ ึงหในชด้คใ่าหαท้ gัง้ สแอลงะคา่BเปYน็ ขออทิ งธแพิตล่ลกะช�ำ หั้นนเปด็น(ตfixัวeแdปรeตffาeมctสsำ�)หครอื ับเวปิเน็ คครา่าคะหงท์กีภ่าราถยดในถแอตยล่ ใะนหรอ้ะดงเับรยีชนั้น
และไม่มีความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าระหว่างห้องเรียน
2. วิเคราะห์ระดับชั้นเรียน (macro level analysis) โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง Zg กับ αg
ที่ได้จากการวิเคราะห์ระดับนักเรียน โดยการวิเคราะห์ถดถอย ซึ่งมีรูปแบบดังนี้
และ BY
αg = α0 + BαZg + δ0g
และ BY = B0 + BBZg + δ1g
เมื่อ Zg แทน ว ุฒิการศึกษาของครูตํ่ากว่าถึงระดับปริญญาตรี (0) และสูงกว่าระดับปริญญาตรี
(1)
Zg แทน เงินเดือนครู ในห้องเรียนที่ g
α0 แทน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยของนักเรียน
Bα แทน ความแตกต่าง ACH ของนักเรียนที่ครูวุฒิการศึกษาต่างกัน
B0 แทน ค ่าเฉลี่ยของอัตราการพัฒนาผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อครูมีวุฒิการศึกษา
ต่างกัน
BB แทน ค วามแตกต่างของอัตราการพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อครูมี
วุฒิการศึกษาต่างกัน
δ0g แทน unique effect
δ1g แทน unique effect
การวิเคราะห์พหุระดับมีความซับซ้อน นักวิจัยต้องอาศัยความรู้ด้านการวิเคราะห์การถดถอย การ
วิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม โปรแกรมที่สามารถใช้วิเคราะห์พหุระดับได้
เช่น SPSS, HLM, LISREL, M-plus และ ML-Win เป็นต้น
2. การเลอื กกลุม่ ตวั อยา่ ง
การเลือกกลุ่มตัวอย่างมีความสำ�คัญมากต่อการวิจัยเชิงพรรณนา เพราะผลการวิจัยที่ดีมาจาก
กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากรเป้าหมายที่ต้องการศึกษา การที่จะได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทน
นั้น กิจกรรมแรกที่นักวิจัยควรทำ�คือ การกำ�หนดกรอบการสุ่ม (sampling frame) ซึ่งหมายถึง รายชื่อของ
ประชากรที่ต้องการศึกษา กรอบการสุ่มอาจครอบคลุมประชากรเป้าหมายที่ต้องการศึกษาหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่
กบั วา่ นกั วจิ ยั มคี วามสามารถในการรวบรวมรายชือ่ ประชากรเปา้ หมายไดถ้ กู ตอ้ งหรอื ไม่ ซึง่ นกั วจิ ยั บางคนอาจ