Page 35 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 35
การออกแบบการวิจัย 4-25
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุสามารถตรวจสอบได้ทั้งความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในโมเดล และ
ความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งดูได้จากสถิติสอบ เช่น ไคสแควร์ (χ2) ที่มีค่าตํ่าๆ และ
ไม่มีนัยสำ�คัญทางสถิติ เป็นต้น
Hours online 0.004 Chi-square = 5.417
per week 0.008 Degree of freedorn = 6
Length of Probability level = 0.492
Internet use 0.119 Frequency of
Perceived online shopping Online Buying
Risks Intention
0.250*
0.227
Innovativeness *p<0.05
(DSI) **p<0.01
ภาพท่ี 4.5 ตัวอยา่ งการวิเคราะห์อิทธพิ ลปจั จัยท่สี ง่ ผลต่อการซือ้ สนิ ค้าทางออนไลน์
1.3.4 การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธด์ ว้ ยสถติ นิ อนพาราเมตรกิ ซ์ เปน็ การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์
ของตัวแปรที่ไม่อาศัยข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการแจกแจงของตัวแปร และมักใช้สถิตินอนพาราเมตริกซ์
ความสัมพันธ์เมื่อตัวแปรที่นำ�มาศึกษาความสัมพันธ์เป็นตัวแปรระดับนามบัญญัติ เช่น การวิเคราะห์ความ
สัมพันธ์แบบไคสแควร์ ระหว่างเพศกับการเลือกเรียนครู และความสัมพันธ์แบบอันดับที่ของสเปียร์แมน
เช่น ความสัมพันธ์ของอันดับที่ของโรงเรียนเรียงตามคะแนนการประเมินของ สมศ. กับจำ�นวนครูในโรงเรียน
เป็นต้น
1.3.5 การวิเคราะห์พหุระดับ (multilevel analysis) เป็นเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
ขัน้ สงู ซึง่ มรี ากฐานมาจากการวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธแ์ บบการถดถอยแบบพหคุ ณู แตม่ หี ลกั การทีแ่ ตกตา่ งจาก
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ คือว่า ค่าเฉลี่ยและค่าความชันในสมการการถดถอยแบบพหุคูณแบบพหุ
ระดบั จะไมเ่ ทา่ กนั ทกุ หนว่ ยของการวเิ คราะหร์ ะดบั มหภาค (macro level) แตค่ า่ เหลา่ นีม้ คี วามแตกตา่ งไปตาม
หน่วยการวิเคราะห์ระดับมหภาค เช่น ค่าเฉลี่ยและค่าความชันแตกต่างไปตามห้องเรียน หรือโรงเรียน การ
วิเคราะห์ข้อมูลเช่นนี้สอดคล้องกับความเป็นจริงมากกว่าการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ เพราะค่าเฉลี่ยและ
ความสัมพันธ์ของตัวแปรของโรงเรียนต่างๆ อาจมีความแตกต่างกันเมื่อโรงเรียนมีความแตกต่างกัน แนวคิด