Page 31 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 31
การออกแบบการวิจัย 4-21
เรอ่ื งที่ 4.2.2 การออกแบบการวิจัยเชงิ พรรณนา
จากค�ำ ถามวจิ ยั เชงิ พรรณนาทีก่ ลา่ วมาขา้ งตน้ เมือ่ น�ำ มาจดั เปน็ ประเภทๆ อาจจะท�ำ ใหส้ ามารถจ�ำ แนก
ประเภทของการวิจัยเชิงพรรณนาแบ่งออกเป็น 3 ประเภทต่างๆ เช่น การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical
research) การวิจัยเชิงสำ�รวจ (survey research) และการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ (correlational study)
นักวิจัยต้องเลือกประเภทของการวิจัยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และคำ�ถามวิจัย เพื่อให้สามารถได้ข้อ
สรุปผลการวิจัยที่ถูกต้อง และตรงตามคำ�ถามวิจัย
1. การเลอื กประเภทของการวจิ ยั เชิงพรรณนา
1.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการศึกษาอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต โดย
ใช้ข้อมูลจากอดีตมาแปลความหมาย บรรยายสภาพและข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และทำ�นายเหตุการณ์ใน
อนาคต กระบวนการที่ศึกษามีลักษณะเด่นที่เน้นการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลในอดีตเพื่อให้มองเห็น
ความสัมพันธ์ของคน เหตุการณ์ เวลา และสถานที่ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เข้าใจอดีตและปัจจุบัน การวิจัย
ประเภทนี้จึงขึ้นอยู่กับการตีความอย่างละเอียดลออของนักวิจัย ไม่ใช่แค่เพียงการเรียบเรียงเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นในอดีตตามลำ�ดับเวลาเท่านั้น ตัวอย่างของการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเปรียบเทียบการ
เลิกทาสของไทยและอเมริกา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนไทยในสมัยที่ยังไม่มีโรงเรียน การเปลี่ยนชนชั้น
ทางสังคมของคนไทยหลังการเลิกทาส หรือการศึกษาประสบการณ์ในวัยเด็กที่มีต่อพฤติกรรมการอ่านของ
นักเรียนระดับประถมศึกษา เป็นต้น การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์มีคุณค่าในการช่วยให้เกิดความกระจ่างของ
เหตุการณ์ในอดีตและปัจจุบัน สามารถทำ�นายภาพ แนวโน้ม และเหตุการณ์ในอนาคตได้
1.2 การวิจัยเชิงสำ�รวจ เป็นการวิจัยที่มีการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพการณ์และความ
สัมพันธ์ของตัวแปร หรือปรากฏการณ์ต่างๆ โดยเน้นที่การศึกษาสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันขณะทำ�การ
ศึกษา และคำ�ถามในเชิงวิจัยจะเป็นลักษณะ “อะไร” มากกว่า “ทำ�ไมจึงเป็นเช่นนั้น” การวิจัยเชิงสำ�รวจไม่มี
การจดั กระท�ำ กบั ตวั แปร แตเ่ ปน็ การรวบรวมขอ้ เทจ็ จรงิ เชน่ การส�ำ รวจสภาพปจั จบุ นั ของโรงเรยี น การส�ำ รวจ
การใชป้ ระโยชน์ห้องเรยี นในโรงเรียน เป็นต้น การวจิ ัยเชิงส�ำ รวจไมจ่ ำ�เป็นจะตอ้ งมีค�ำ ว่า “การสำ�รวจ” น�ำ หนา้
เสมอไป อาจเป็นเรื่องเกี่ยวกับทัศนคติ ความรู้สึก การรับรู้ พฤติกรรมที่แสดงออก หรือบทบาทของกลุ่มคน
ก็ได้ ลักษณะสำ�คัญอยู่ที่วัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ทำ�เพื่อพิจารณาว่าตัวแปรทางจิตวิทยาหรือสังคมวิทยา
นั้นๆ มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
1.3 การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ (correlational study) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่
2 ตัวขึ้นไป โดยไม่มีการจัดกระทำ�กับตัวแปรที่ศึกษา ตัวอย่างเช่น ความสัมพันธ์ของจำ�นวนหน่วยกิตที่
นกั ศกึ ษาครเู รยี นในระดบั อดุ มศกึ ษากบั ผลการสอนเมือ่ สอนในโรงเรยี น ความสมั พนั ธท์ ีต่ รวจสอบมที ัง้ ขนาด