Page 60 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 60

4-50 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

       การออกแบบการวิจัยที่มีตัวแปรอิสระหลายตัวเช่นนี้ สามารถประยุกต์ไปใช้ในการขจัดความคลาด
เคลื่อนจากตัวแปรแทรกซ้อน โดยนำ�ตัวแปรแทรกซ้อนเข้ามาศึกษาร่วมกับตัวแปรทดลอง โดยให้ตัวแปร
แทรกซ้อนเป็นตัวแปรอิสระตัวแปรหนึ่งในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ร่วม (ANCOVA) เพื่อควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนให้มีผลเท่ากันๆ ทุกกลุ่มจึงสามารถศึกษาผลของตัวแปร
อิสระที่ต้องการศึกษาได้ชัดเจน

2. 	การออกแบบการวจิ ัยกง่ึ ทดลอง (quasi-experimental research design)
การวิจัยกึ่งเชิงทดลองมีจุดประสงค์เหมือนกับการวิจัยเชิงทดลองคือ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์

เชิงสาเหตุ-ผลลัพธ์ของตัวแปร แต่การวิจัยกึ่งทดลองไม่สามารถดำ�เนินการกระบวนการสุ่มได้ เนื่องจากมีข้อ

จำ�กดั ในการสุ่มที่ไม่สามารถเลือกกลุม่ ตัวอย่างดว้ ยวิธกี ารสุ่มอยา่ งสมบรู ณ์ได้ ถงึ แมว้ า่ การวจิ ัยเชงิ ทดลองจะ

เป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดต่อการสรุปผลการวิจัยในเชิงสาเหตุ-ผลลัพธ์ แต่การทำ�วิจัยเชิงทดลองในสาขา

สังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์เป็นเรื่องที่ทำ�ได้ยาก เพราะมีปัญหาด้านจริยธรรมของการวิจัย และการ

ไม่สามารถสุ่มกลุ่มตัวอย่างได้อย่างสุ่มโดยสมบูรณ์ ในการนี้นักวิจัยจะออกแบบการวิจัยที่เรียกว่า การวิจัย

ที่ไม่ใช่วิจัยเชิงทดลอง แต่มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ งานวิจัยเหล่านี้มีความสำ�คัญมาก

ในปัจจุบันในทางการศึกษา และการวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิภาพของนโยบาย โครงการ และการแทรกแซง

(intervention) เพื่อแก้ไขปัญหา การออกแบบการวิจัยที่สำ�คัญในกลุ่มนี้ เรียกว่า การวิจัยกึ่งทดลอง (quasi

experiments) มีรูปแบบที่สำ�คัญ ดังนี้
2.1 	รูปแบบทดสอบก่อน-หลัง (pretest-posttest design) รูปแบบนี้มีการทดสอบก่อนและ
หลังเรียน แต่ใช้กลุ่มทดลองกลุ่มเดียวโดยไม่มีกลุ่มควบคุม  กล่าวคือ  เมื่อทำ�การทดสอบก่อนเรียนแล้ว  (O1)
มีการทดลอง (X) หลังจากนั้นจึงมีการวัดครั้งที่สอง (O2)

                                       O1 	 X 	 O2

ตามรูปแบบการทดลองนี้ ถ้าพบว่าผลการวัดก่อนและหลังทดลองแตกต่างกัน ผู้วิจัยจะสรุปว่า

ความแตกต่างที่พบเป็นผลมาจากการทดลอง แต่การสรุปผลการวิจัยอาจไม่ถูกต้องก็ได้เพราะไม่มีการสุ่ม

และไม่มีกลุ่มควบคุมสำ�หรับเปรียบเทียบ ปัจจัยที่อาจทำ�ให้การสรุปผลการวิจัยผิดพลาด เช่น การทดสอบ

ก่อนและหลังเรียนเว้นระยะห่างมาก และในระหว่างนั้นกลุ่มตัวอย่างอาจประสบ หรือได้ทำ�บางสิ่งบางอย่าง

ที่อาจช่วยทำ�ให้เกิดความแตกต่างในการวัด แคมเบลและสแตนเล่ย์เรียกปัจจัยชนิดนี้ว่า เหตุการณ์แทรก

(history) นอกจากนี้  กคาวราเปมลแี่ตยนกแตป่างลขงอเชง่นOน1ี้อา—จเOป2็นกอาารจเเปปล็นี่ยผนลแมปาลจงาทกากงาจริตทวี่กิทลยุ่มาตหัวอรือยท่างาเงปกลาี่ยยภนาแพปทลี่องไาปจ
เพราะเวลาเปลี่ยนไป

ท(mำ�ใaหtu้สr่งaผtลioตn่อ)กนารอวกัดจาOก2นปี้ หราากกฏนกักาวริจณัย์นใชี้เร้เคียรกื่อวง่ามกือาครเนปลละี่ยอนยแ่าปงกลันงทสาำ�งหกราับยวภัดาพOแ1ละแชลีวะภOาพ2ขออางจกเลปุ่ม็นตไปัวอไดย้ว่าง่า
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65