Page 57 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 57

การออกแบบการวิจัย 4-47

       1.1 	การออกแบบที่มีกลุ่มควบคุม และวัดก่อน-หลังทดลอง (the pretest-posttest control group
design)

                                 R 	 O1 	 X 	 O2
                                 R 	 O3 		 O4

       รปู แบบการทดลองแบบนีม้ กี ลุม่ ทดลอง (experimental group) และกลุม่ ควบคมุ (control group)
มกี ารทำ�การสุม่ กลุม่ ตัวอย่าง (random selection) กำ�หนดกลุ่มควบคุม และกลุม่ ทดลองอยา่ งสุม่ (random
assignment) ดังนั้น กลุ่มทั้งสองกลุ่มจึงมีความเท่าเทียมกันด้วยกระบวนการสุ่ม รูปแบบการทดลองแบบ
นี้ถือว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของการทดลองที่แท้จริง (true experimental design)

       การตรวจสอบว่า X มีผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ ทำ�ได้โดย
            1) การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนการเปลี่ยนแปลง (gain score) ของกลุ่มทดลอง

เแปลละี่ยกนลแุ่มปคลวงบขคอ2ุมง)กดกล้วาุ่มยรคสเปวถรบิตียคิ บtุม-เทtคeียsือบtคOโ่าด4เฉย­—ลคOี่ยะ3แขนองนคพะัฒแนนนากพาัฒรขนอากงการลุ่ม(gทaดinลอsงcคoือre)Oข2อ­—งกOล1ุ่มทแดลละคองะแแลนะนกกลาุ่มร
ควบคุม โดยมีการควบคุมคะแนนก่อนทดลอง สถิติที่ใช้คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (Analysis
of Covariance หรือ ANCOVA)

       การวิเคราะห์ข้อมูลข้างต้นจะใช้ได้ดีเมื่อมีการสุ่มเท่านั้น แต่บางครั้งการวิจัยทางการศึกษาเลือก
นักเรียนทั้งห้องเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยไม่ได้ใช้การสุ่มแต่อย่างใด เพราะมีความเป็นไปได้ใน
การทดลองมากกว่า ในกรณีนี้ แคมเบล และสแตนเล่ย์ (Campbell & Stanley, 1966) เสนอให้ใช้หน่วยการ
วิเคราะห์เป็นห้องเรียน แทนที่จะเป็นนักเรียนหรือระดับบุคคล และดำ�เนินการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วยการ
ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (Analysis of Covariance หรือ ANCOVA) และใช้ค่าเฉลี่ยคะแนน
ก่อนทดลองเป็นตัวแปรแปรร่วม (covariate)

       1.2 	การออกแบบแบบสี่กลุ่มของโซโลม่อน (the Solomon four-group design)

                                 R 	 O1 	 X 	 O2
                                 R 	 O3 		 O4
                                 R 	 	 X 	 O5
                                 R 	 	 	 O6
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62