Page 61 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 61
การออกแบบการวิจัย 4-51
ความแตกต่างของ (Oin1st—ruOm2eอnาtจatเกioิดnจ) ากเครื่องมือที่ไม่เหมือนกัน ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า เครื่องมือและ
วิธีการวัดบกพร่อง
ดังนั้น จะเห็นว่ารูปแบบการทดลองแบบนี้ยังไม่ดีพอที่จะบอกความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ-ผลลัพธ์
หากนกั วจิ ยั ใชร้ ปู แบบการทดลองนี้ นกั วจิ ยั ตอ้ งควบคมุ ปจั จยั ตา่ งๆ ใหไ้ ด้ และตอ้ งมหี ลกั ฐานทีแ่ สดงวา่ ปจั จยั
ที่อาจลดความถูกต้องของผลการวิจัยไม่ส่ง เช่น เหตุการณ์แทรก (history) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
และชีวภาพของกลุ่มตัวอย่าง (maturation) หรือเครื่องมือและวิธีการวัดบกพร่อง (instrumentation)
ไม่ส่งผลต่อการวิจัย เพราะนักวิจัยได้ควบคุมดีแล้ว
2.2 การออกแบบที่มีกลุ่มควบคุมแต่ไม่มีการสุ่ม (the static-group comparison)
X O1
O2
รปู แบบนีม้ กี ลุม่ ทดลองและกลุ่มควบคุม แตไ่ มม่ ีการสุ่มกลุม่ ตวั อยา่ ง กลุม่ ทดลองไดร้ บั การทดลอง
และมีการวัดหลังการทดลองครั้งเดียว กลุ่มควบคุมไม่ได้รับทรีตเมนต์ แต่มีการวัดเช่นเดียวกับกลุ่มทดลอง
การเปรียบเทียบความแตกต่างของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม (O1 — O2) เป็นการเปรียบเทียบเพื่อศึกษา
ผลของทดลอง X อย่างไรก็ตาม การสรุปผลการทดลองอาจไม่ชัดเจน เพราะกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
อาจต่างกัน เพราะถูกเลือกมาต่างกัน ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า ความลำ�เอียงในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
(selection) นอกจากนี้ หากกลุ่มตัวอย่างของทั้งสองกลุ่มสูญหายไป อาจทำ�ให้ทั้งสองกลุ่มแตกต่างกันใน
ขณะที่ทำ�การวัดหลังการทดลอง ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า กลุ่มตัวอย่างสูญหาย (mortality)
2.3 การใช้กลุ่มที่ไม่เหมือนกัน (non-equivalent groups) ในการวิจัยที่ไม่ใช่การวิจัยเชิงทดลอง
ที่นักวิจัยต้องการเปรียบเทียบตัวแปรตามของกลุ่มต่างๆ เช่น การเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการ
ศึกษาของโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเอกชน ถึงแม้นักวิจัยจะได้พยายามทำ�ให้กลุ่มต่างๆ ที่นำ�มาเปรียบ
เทียบกันมีความเหมือนกันให้มากที่สุด แต่นักวิจัยอาจทำ�ได้ไม่สมบูรณ์ เพราะไม่ได้ใช้วิธีการสุ่มเลือกกลุ่ม
ตัวอย่าง ดังนั้น กลุ่มที่นำ�มาศึกษาอาจมีความแตกต่างกัน หรือเป็นกลุ่มที่ไม่เหมือนกัน ความแตกต่างของ
กลุ่มที่นำ�มาเปรียบเทียบอาจเกิดมาจากตัวแปรภูมิหลัง สิ่งนี้เป็นปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้การวิจัยที่ไม่ใช่การวิจัย
เชงิ ทดลองมจี ดุ ออ่ นในการสรปุ ความสมั พนั ธเ์ ชงิ สาเหตุ เพราะความแตกตา่ งทีเ่ กดิ ขึน้ ในตวั แปรตามของกลุม่
ที่ศึกษาอาจเกิดจากความแตกต่างของปัจจัยที่นักวิจัยศึกษา เช่น ประเภทของโรงเรียน แต่ปัจจัยอื่นๆ ก็อาจ
ส่งผลได้เช่นกัน เพราะนักวิจัยไม่ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างอย่างสุ่ม การทำ�การเปรียบเทียบตัวแปรตามใน
กลุ่มตัวอย่างที่มีความแตกต่างกันถือว่ามีความคลาดเคลื่อนจากการเลือกกลุ่มตัวอย่าง (selection bias)
เกิดขึ้น ในกรณีนี้ Rosenbaum and Runbin (1983) เสนอวิธีการแก้ไขปัญหาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่
มตี วั แปรแทรกซอ้ นเทา่ กนั มาท�ำ การเปรยี บเทยี บ เรยี กวา่ วธิ กี ารใชจ้ บั คูโ่ ดยใชค้ วามนา่ จะเปน็ (propesensity
score matching teahnique) โดยการน�ำ ตวั แปรแทรกซอ้ น (X) มาเปน็ ตวั แปรท�ำ นายความเปน็ สมาชกิ กลุม่