Page 56 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 56

4-46 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

assignment) การจับคู่ (matching) การนำ�ตัวแปรแทรกซ้อนที่สำ�คัญมาศึกษา และการควบคุมทางสถิติ
(statistical control)

       เพื่อให้นักวิจัยดำ�เนินการวิจัยได้ตามหลัก max min con การทำ�วิจัยเชิงทดลองควรใช้หลักการ
ของการสุ่ม (randomization) ซึ่งประกอบด้วย

       1. 	การเลือกกลุ่มตัวอย่าง หรือสมาชิกของการทดลองด้วยวิธีการสุ่ม (random selection) ให้ได้
จำ�นวนที่ต้องการ

       2. 	เลือกทรีตเมนต์ให้แต่ละกลุ่มด้วยวิธีการสุ่ม (random assignment)
       แตถ่ ้าไม่สามารถด�ำ เนินการสุ่มไดก้ ็ตอ้ งใชว้ ธิ ีการจับคู่ (matching) วิธีการใดวธิ กี ารหนึ่งจากจ�ำ นวน
5 วิธีที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น

              หลงั จากศกึ ษาเนอ้ื หาสาระเรื่องที่ 4.3.2 แลว้ โปรดปฏิบตั ิกจิ กรรม 4.3.2
                      ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 4 ตอนที่ 4.3 เรอื่ งท่ี 4.3.2

เรอื่ งท่ี 4.3.3 การออกแบบการวิจัยเชิงทดลองและการวจิ ยั ก่งึ ทดลอง

       การออกแบบการวิจัยเชิงทดลองที่จะเสนอต่อไปนี้ ประกอบด้วย การเลือกรูปแบบการทดลองให้
สอดคล้องกับคำ�ถามวิจัย การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งทั้งสองมีส่วนสำ�คัญต่อคุณภาพของการวิจัย ส่วนเรื่อง
การออกแบบเครื่องมือวัดนั้น นักศึกษาสามารถอ่านเพิ่มเติมได้จากเอกสารเกี่ยวกับการเครื่องมือวิจัย หรือ
การสร้างเครื่องมือสำ�หรับการประเมิน ซึ่งใช้หลักการเดียวกัน มีวิธีการพัฒนาเครื่องมือที่คล้ายกัน และมี
เปา้ หมายเดยี วกนั คอื การใชเ้ ครือ่ งมอื วดั ทีม่ คี ณุ ภาพในดา้ นความตรง (validity) และความเทีย่ ง (reliability)
โดยทั่วไปเครื่องมือวิจัยสำ�หรับการวิจัยเชิงทดลองทางการศึกษาส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบสำ�หรับวัดความรู้
ของนักเรียนก่อน/หลังจากได้รับการทดลอง

1. 	การเลอื กรูปแบบการทดลอง

       การอธบิ ายประเภทของการออกแบบการวจิ ยั เชงิ ทดลองตอ่ ไปนอ้ี าศยั รปู แบบทแ่ี คมเบล และสแตนเลย่ ์
(Campbell & Stanley, 1966) อธิบายไว้ โดยใช้สัญลักษณ์ O แทนการเก็บข้อมูลหรือการวัด X แทนการ
ทำ�การทดลอง และ R แทนการเลือกทรีตเมนต์ให้กลุ่มด้วยวิธีการสุ่ม (random assignment) รูปแบบของ
การวิจัยเชิงทดลอง มีดังนี้
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61