Page 64 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 64

6-54 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

เร่ืองท​ ่ี 6.3.1 	แนวคดิ ​เกี่ยว​กบั ​แบบว​ ดั ค​ วามส​ ามารถใ​น​การ​คิด

       ใน​ปัจจุบัน​ที่​ความ​เจริญ​ก้าวหน้า​ทาง​วิชาการ ตลอด​จน​เทคโนโลยี​มี​การ​ขยาย​ตัวอย่าง​ไม่มี​ขอบเขต
ทำ�ให้​สังคม​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​ไป​อย่าง​รวดเร็ว เพราะฉ​ ะนั้น​การ​ที่​จะ​ปรับ​ตัว​ให้​สามารถ​อยู่​ใน​สังคม​ปัจจุบัน​
ได้​อย่าง​มี​ความ​สุข​ได้​นั้นจึง​ต้อง​มี​การเต​รี​ยม​ความ​พร้อม​ให้​กับ​เยาวชน​หรือ​ผู้​เรียน​ให้​ได้​รับ​การ​พัฒนา​
กระบวนการค​ ิด ที่จ​ ะช​ ่วยใ​ห้เ​ยาวชนส​ ามารถแ​ ก้ป​ ัญหาอ​ ย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพ การต​ ัดสินใ​จอ​ ย่างไ​ตร่ตรอง และ​
มสี​ ติ รอบคอบ ตลอดจ​ นม​ ก​ี ารเ​รียนร​ ูอ​้ ย่างต​ อ่ เ​นือ่ งต​ ลอดช​ ีวิต ดังป​ รากฏใ​นพ​ ระร​ าชบ​ ัญญตั กิ​ ารศ​ กึ ษาแ​ ห่งช​ าติ
พ.ศ. 2542 หมวด 4 แนว​การ​จัดการ​ศึกษา มาตรา 24 การ​จัด​กระบวนการ​เรียน​รู้​ที่​ให้​มี​การ​ฝึก​ทักษะ
กระบวนการค​ ิด การจ​ ัดการ การเ​ผชิญส​ ถานการณ์ และ​การป​ ระยุกต์ค​ วามร​ ู้ม​ าใ​ชเ้​พื่อป​ ้องกันแ​ ละแ​ ก้ไขป​ ัญหา
และ​ในห​ ลักสูตร​การ​ศึกษา​ขั้นพ​ ื้นฐ​ าน พ.ศ. 2551ได้​กำ�หนด​ความส​ ามารถ​ในก​ าร​คิดเ​ป็น​สมรรถนะ​สำ�คัญข​ อง​
ผู้​เรียน​ที่​สถาน​ศึกษา​ต้อง​มี​การ​ออกแบบ​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​ที่​ส่ง​เสริม​ให้​ผู้​เรียน​เกิด​กระบวนการ​คิด เพื่อ​ให้​
ผู้เ​รียนเ​กิด​ทักษะก​ ารค​ ิด​ที่ส​ ำ�คัญๆ คือ การ​คิดว​ ิเคราะห์ การ​คิด​สังเคราะห์ การ​คิดอ​ ย่าง​สร้างสรรค์ การ​คิด​
อย่างม​ ี​วิจารณญาณ และก​ ารค​ ิด​เป็น​ระบบ ดังน​ ั้น การ​คิดจ​ ึง​เป็น​คุณลักษณะส​ ำ�คัญแ​ ละ​จำ�เป็น​สำ�หรับ​มนุษย์​
ทุก​คน

       การค​ ิดเ​ป็นกร​ ะบ​ วนก​ ารท​ างส​ มอง ในก​ ารจ​ ัดก​ ระทำ�​กับข​ ้อมูลห​ รือส​ ิ่งเ​ร้าท​ ี่​รับเ​ข้าม​ า โดยเ​ป็นร​ ากฐาน​
ทีม่​ คี​ วามส​ ำ�คัญต​ ่อก​ ารเ​รียนร​ ูแ้​ ละก​ ารแ​ กป้​ ัญหาข​ องบ​ ุคคล ทั้งนี้ เพราะก​ ารเ​รียนร​ ูแ้​ ละก​ ารแ​ กป้​ ัญหาน​ ั้น บุคคล​
จะต​ ้อง​รู้จักใ​ช้​การ​คิดแ​ บบ​วิเคราะห์ วิจารณ์ ทำ�ความเ​ข้าใจ​เกี่ยว​กับ​ความ​จริง​หรือ​ปัญหา​นั้นใ​น​ลักษณะต​ ่างๆ
และ​การใ​ช้ก​ าร​คิด​ใน​การ​ค้นหาแ​ นวท​ างใ​หม่ๆ ในก​ ารเ​รียน​รู้แ​ ละ​การแ​ ก้​ปัญหา ทั้งนี้ การ​สอนใ​ห้ค​ ิดจ​ ะ​ช่วย​ให​้
ผู้​เรียน​สามารถ​ใช้​เหตุผล​ใน​การ​ตัดสิน​ใจ​ได้​อย่าง​ชัดเจน และ​สามารถ​พัฒนา​ตนเอง​ให้​เป็น​ไป​ตาม​เป้า​หมาย​
ของส​ ังคมแ​ ละ​การจ​ ัดการศ​ ึกษา​ที่ต​ ้องการ

กรอบค​ วาม​คิด​ของ​การค​ ดิ

       ได้​มี​นัก​วิชาการ​ได้​กล่าว​ถึง​กรอบ​ความ​คิด​ของ​การ​คิด​ไว้​หลาย​ประเด็น ใน​ที่​นี้​จะ​กล่าว​ถึง 1. คำ�​ที่​
แสดง​ถึง​ลักษณะข​ องก​ าร​คิด 2. มิติ​ของก​ ารค​ ิด ดัง​ราย​ละเอียดต​ ่อ​ไปน​ ี้

       1. 	 คำ�​ท่ี​แสดง​ถึง​ลักษณะ​ของ​การ​คิด เป็น​คำ�​ที่​เกี่ยวข้องก​ ับ​การ​ใช้​ความ​คิด ซึ่ง​มี​การ​ใช้​อยู่​หลาย​คำ�
ดังท​ ี่ ทิศน​ า แขม​มณี และ​คณะ (2543: 89-90) ได้​แบ่ง​กลุ่มเ​ป็น 3 กลุ่ม​ใหญ่ๆ คือ

            กล่มุ ท​ ่ี 1 เป็นค​ ำ�​ที่แ​ สดงออกถ​ ึง​การกร​ ะ​ทำ�​หรือพ​ ฤติกรรมซ​ ึ่ง​ต้อง​ใช้ค​ วามค​ ิด เช่น การส​ ังเกต
การเ​ปรียบเ​ทียบ การจ​ ำ�แนก​แยกแยะ ฯลฯ คำ�​ต่างๆ เหล่าน​ ี้แ​ ม้จ​ ะ​เป็นพ​ ฤติกรรม​ที่ไ​ม่มี​คำ�​ว่า “คิด” อยู่ แต่​
ก็ม​ ีค​ วามห​ มาย​ของ​การ​คิดอ​ ยู่​ใน​ตัว คำ�​ในก​ ลุ่มน​ ี้ม​ ีล​ ักษณะ​ของ​พฤติกรรม/การก​ระ​ทำ�​ที่ช​ ัดเจน ซึ่ง​หาก​บุคคล​
สามารถ​ทำ�ได้อ​ ย่าง​ชำ�นาญ​ก็จ​ ะเ​รียกก​ ันว​ ่า ทักษะ ดัง​นั้น จึง​เรียกค​ ำ�​กลุ่มน​ ี้ว​ ่า ทักษะ​การค​ ิด
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69