Page 68 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 68
6-58 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา
ซึ่งสามารถบ่งชี้ถึงโครงสร้าง/องค์ประกอบการคิดแล้ว จากนั้นจึงเขียนข้อความตามตัวชี้วัด หรือลักษณะ
พฤติกรรมเฉพาะข องแต่ละอ งค์ประกอบข องการคิดนั้น ดังภาพที่ 6.1 (สำ�นักงานค ณะกรรมการก ารศึกษา
แห่งชาติ 2540: 87)
สิ่งท ี่ม ุ่งว ัด ความส ามารถท างการค ิด
(นามธรรม)
รูปธ รรม โครงสร้าง/องค์ป ระกอบ
(ตัวชี้ว ัด) ของความส ามารถทางการคิด
นิยามเชิงป ฏิบัติการ
ของแต่ละองค์ป ระกอบ
เครื่องม ือ เขียนคำ�ถามเชิงพฤติกรรม
สำ�หรับใช้ว ัด ที่เป็นต ัวแทนแ ละค รอบคลุม
แ ต่ละอ งค์ป ระกอบ
ภาพท่ี 6.1 หลกั การสรา้ งแบบว ัดความสามารถท างการค ดิ
ข้ันต อนการพ ฒั นาแบบวัดความส ามารถทางการคดิ มีข ั้นตอนการด ำ�เนินการที่สำ�คัญ ดังนี้ ขั้นท ี่ 1
ขั้นวางแผนการสร้างแบบวัด ขั้นท ี่ 2 ขั้นด ำ�เนินก ารสร้างแบบว ัด ขั้นท ี่ 3 ขั้นตรวจสอบคุณภาพแ บบวัดก ่อน
นำ�ไปใช้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ข้ันท ี่ 1 ข้นั วางแผนก ารสร้างแบบวัด ประกอบด ้วยอ งค์ประกอบย ่อย ดังนี้
1.1 กำ�หนดจุดมุ่งหมายของแบบวัด แบบวัดมีจุดมุ่งหมายสำ�คัญของการสร้างแบบวัดความ
สามารถทางการค ิดว ่าเป็นแบบวัดความสามารถท างการค ิดด้านใด เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิด
วิเคราะห์ เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้พัฒนาแบบวัดจะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการนำ�แบบวัดไปใช้ด้วยว่า
ต้องการวัดความสามารถทางการคิดท ั่วๆ ไป หรือต ้องการว ัดความส ามารถท างการค ิดเฉพาะวิชา (aspect-
spectific) การวัดน ั้นมุ่งติดตามความก้าวหน้าของความส ามารถท างการคิด (formative) หรือต ้องการเน้น
การป ระเมิน ผลส รุปร วม (summative) สำ�หรับก ารต ัดสินใจ รวมท ั้งก ารแ ปลผ ลก ารว ัดเน้นก ารเปรียบเทียบ
กับมาตรฐานของกลุ่ม (norm-referenced) หรือต้องการเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำ�หนดไว้
สิ่งเหล่านี้จะต้องก ำ�หนดไว้เป็นจุดม ุ่งหมายของก ารวัด