Page 72 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 72

6-62 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

ตาราง​ที่ 6.13 (ตอ่ )

ความสามารถ                        ตัวบ่งช้ี                                จ�ำ นวน
                                                                         ข้อค�ำ ถามทใี่ ช้
5. 	การอธิบาย          - 	 บรรยายเหตุผลโดยอ้างอิงข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
6.	 การควบคุมตนเอง     - 	 อธิบายความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของผลที่เกิดขึ้น       2
                       - 	 ให้เหตุผลในการยอมรับหรือปฏิเสธข้อมูล               2
                       - 	 นำ�เสนอรายงานข้อมูลอย่างถูกต้องชัดเจน              2
                                                                              2
                                   รวม
                                                                              8
                       - 	 ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ด้วยสติปัญญา
                       - 	 ยอมรับในคำ�พูดของตน                                2
                       - 	 ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำ�ของคน                   2
                       - 	 ตัดสินใจเลือกวิธีที่ดีที่สุดสำ�หรับแก้ปัญหา        2
                                                                              2
                                   รวม
                                                                              8
                                รวมทั้งสิ้น
                                                                             48

       จาก​ตัวอย่าง​ตาราง​ที่ 6.13 แสดง​แผนผัง​ข้อสอบ​สำ�หรับ​แบบ​วัด​ความ​สามารถ​ใน​การ​คิด​อย่าง​มี​
วิจารณญาณ 6 ด้าน ประกอบ​ด้วยข​ ้อค​ ำ�ถามท​ ี่พ​ ัฒนาแ​ บบว​ ัด​ด้านล​ ะ 12 ข้อ รวม​ทั้งส​ ิ้น 72 ข้อ และจ​ ำ�นวน​ข้อ​
คำ�ถาม​ที่ต​ ้องการใ​ช้จ​ ริง​ด้าน​ละ 8 ข้อ รวม​ทั้ง​สิ้น 48 ข้อ

            2.2 	เขียน​ข้อสอบ กำ�หนด​รูป​แบบ​ของ​การ​เขียน​ข้อสอบ ตัว​คำ�ถาม ตัว​คำ�​ตอบ และ​วิธี​การ​
ตรวจ​ให้​คะแนน เช่น กำ�หนดว​ ่า​ตัวค​ ำ�ถามเ​ป็นล​ ักษณะส​ ถานการณ์ สภาพ​ปัญหา หรือ​ข้อม​ ูล​สั้นๆ อาจไ​ด้​มา​
จาก​บทความ รายงาน​ต่างๆ บท​สนทนา​ที่​พบ​ใน​ชีวิต​ประจำ�​วัน หรือ​อาจ​เขียน​ขึ้น​มา​เอง ส่วน​ตัว​คำ�​ตอบ อาจ​
เป็น​ข้อ​สรุป​ของส​ ถานการณ์ หรือป​ ัญหา​นั้น 3-4 ข้อ​สรุป เพื่อ​ให้ผ​ ู้ต​ อบพ​ ิจารณา​ตัดสิน​ว่าข​ ้อ​สรุป​ใด​น่า​เชื่อถ​ ือ​
กว่าก​ ัน น่า​จะเ​ป็นจ​ ริงห​ รือไ​ม่ เป็นต้น ส่วน​การต​ รวจใ​ห้ค​ ะแนน มี​การก​ ำ�หนดเ​กณฑ์ก​ ารต​ รวจไ​ว้ เช่น ตอบ​ถูก​
ตรงค​ ำ�​เฉลยไ​ด้ 1 คะแนน ถ้าต​ อบ​ผิด​ให้ 0 คะแนน เป็นต้น

            เมื่อ​กำ�หนด​รูป​แบบ​ของ​ข้อสอบ​แล้ว ก็​ลงมือ​ร่าง​ข้อสอบ​ตาม​ผัง​ข้อสอบ​ที่​กำ�หนด​ไว้​จน​ครบ​
ทุก​องค์​ประกอบ ภาษาท​ ี่​ใช้ก​ ็ค​ วร​เป็นไ​ป​ตาม​หลักก​ าร​เขียน​ข้อสอบท​ ี่ด​ ีโ​ดย​ทั่วไป แต่​สิ่ง​ที่​ต้องร​ ะมัดระวัง​เป็น​
พิเศษ ได้แก่ การเ​ขียนข​ ้อสอบใ​ห้ว​ ัดไ​ด้​ตรง​ตาม​โครงสร้างข​ องก​ าร​วัด และพ​ ยายาม​หลีกเ​ลี่ยงค​ ำ�ถามท​ ี่​ทำ�ให้​
ผู้ต​ อบ​แส​ร้งต​ อบ​ให้ด​ ูด​ ี​ให้​ได้

            หลัง​จาก​ร่าง​ข้อสอบ​เสร็จ​แล้ว ควร​มี​การ​ทบทวน​ข้อสอบ​ถึง​ความ​เหมาะ​สม​ของ​การ​วัด​และ​
ความช​ ัดเจนข​ องภ​ าษาท​ ี่​ใช้ โดย​ผู้เ​ขียน​ข้อสอบเ​องแ​ ละ​ผู้​ตรวจ​สอบ​ที่​มี​ความ​เชี่ยวชาญ​ในก​ ารส​ ร้างข​ ้อสอบว​ ัด​
ความ​สามารถใ​นก​ ารค​ ิด
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77