Page 69 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 69
การสร้างเครื่องมือว ัดด้านพุทธิพ ิสัย 6-59
1.2 กำ�หนดกรอบของการวัดและนิยามเชิงปฏิบัติการ ผู้พัฒนาแบบวัดควรศึกษาเอกสาร
แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความสามารถทางการคิดตามจุดมุ่งหมายที่ต้องการ ผู้พัฒนาแบบวัดควร
คัดเลือกแนวคิดหรือทฤษฎีที่เหมาะสมกับบ ริบทและจุดม ุ่งหมายที่ต ้องการเป็นหลักยึด ศึกษาให้เข้าใจอย่าง
ล กึ ซ ึง้ เพือ่ ก �ำ หนดโครงสรา้ ง/องคป์ ระกอบข องค วาม สามารถท างการค ดิ ต ามท ฤษฎี และใหน้ ยิ ามเชงิ ป ฏบิ ตั กิ าร
ของแต่ละองค์ประกอบในเชิงรูปธรรมของพฤติกรรมที่สามารถบ่งชี้ถึงลักษณะแต่ละองค์ประกอบของการ
คิดน ั้นได้
ตัวอย่างที่ 6.18 การกำ�หนดกรอบการวัดและนิยามเชิงปฏิบัติการ จากการวิจัยของปรียานุช
นยิ มช าติ (2551) ไดพ้ ฒั นาแ บบว ดั ค วามส ามารถในก ารค ดิ อ ยา่ งม วี จิ ารณญาณ ส�ำ หรบั น กั เรยี นช ัน้ ม ธั ยมศกึ ษา
ปีที่ 3 ในโรงเรียนส ังกัดส ำ�นักงานเขตพ ื้นที่การศ ึกษาจันทบุรี เขต 2 โดยก ำ�หนดกรอบก ารวัดแ ละนิยามเชิง
ปฏิบัติการไว้ ดังนี้
การวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเป็นการวัดตามแนวคิดการคิดอย่างมี
วิจ าร ณญ าณของฟาซิอ อน 6 ด้าน คือ ด้านก ารต ีความ ด้านการวิเคราะห์ข ้อมูล ด้านการประเมินผล ด้านการ
สรุปอ้างอิง ด้านการอ ธิบาย และด ้านการค วบคุมตนเอง ซึ่งได้กำ�หนดน ิยามปฏิบัติการแ ละตัวบ ่งช ี้ไว้ ดังนี้
ตารางที่ 6.12 การก�ำ หนดกรอบการว ดั และน ยิ ามเชงิ ป ฏิบัตกิ าร
ความสามารถ นยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร ตัวบ่งช้ี
1. การตีความ
ความส ามารถท ี่ทำ�ความเข้าใจและแ ปล - จำ�แนกประเภทของข้อมูล
2. การวิเคราะห์ข้อมูล ค วามห มายข้อมูล โดยการจ ำ�แนก - สรุปใจความสำ�คัญของข้อมูล
ประเภทของข้อมูล การสรุปใจความ - บอกวัตถุประสงค์ของการนำ�เสนอ
สำ�คัญของข้อมูล การบ อกวัตถุประสงค์ ข้อมูล
ของการนำ�เสนอข ้อมูลและก ารร ะบุ - ระบุความหมายที่แท้จริงของข้อมูล
ความห มายที่แท้จริงข องข้อมูล
- ระบุประเด็นปัญหา
ความส ามารถในก ารร วบรวมข้อมูล - ระบุเหตุผลท ี่ท ำ�ให้ข ้อข ัดแ ย้งเป็นจ ริง
ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในก ารก ำ�หนดป ระเด็น - หาความแตกต ่างท ี่เกิดจากว ิธีก าร
ปัญหาที่เกิดขึ้น การใช้ข้อมูลหรือความรู้ แก้ป ัญหา 2 วิธี
จากประสบการณ์เดิมที่ม ีอยู่มาใช้ในก าร - หาหลักฐานหรือข ้อเท็จจ ริง
ระบุเหตุผลท ี่ทำ�ให้ข้อขัดแ ย้งนั้น มาสน ับสนุนก่อ นลงข้อส รุป
เป็นจริง การหาความแตกต ่างท ี่เกิดจ าก
วิธีก ารแก้ป ัญหา 2 วิธี และก ารห า
หลักฐ านหรือข้อเท็จจ ริงม าสน ับส นุน
เพื่อใช้ในการพิจารณาก ่อนล งข้อสรุป