Page 67 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 67
การส ร้างเครื่องม ือวัดด ้านพุทธิพิสัย 6-57
เรือ่ งท ี่ 6.3.2 การส ร้างแบบว ัดค วามสามารถในการคิด
การส ร้างแบบวัดความส ามารถในการค ิด จำ�แนกเป็น การว ัดความสามารถในการคิดตามแ นวทาง
นักวัดก ลุ่มจิตมิติ และการว ัดตามแนวทางของก ารวัดจากก ารปฏิบัติจ ริง ดังรายล ะเอียดต่อไปน ี้
การวดั ความสามารถในการค ดิ ตามแนวทางน ักว ดั ก ลุม่ จ ิตม ติ ิ
การวัดความสามารถในการคิดตามแนวทางนักวัดกลุ่มจิตมิติส่วนใหญ่สนใจการวัดความสามารถ
ในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (critical thinking) ซึ่งได้มีการพัฒนาแบบสอบกันอย่างหลากหลาย ดังนี้
1) แบบสอบมาตรฐานที่ใช้สำ�หรับวัดความสามารถในการคิด และ 2) แบบสอบสำ�หรับวัดความสามารถใน
การคิดท ี่สร้างข ึ้นใช้เอง (สำ�นักงานค ณะก รรมการก ารศ ึกษาแ ห่งชาติ 2540: 86)
1. แบบส อบม าตรฐาน เป็นแ บบท ดสอบท ีใ่ชส้ ำ�หรับว ัดค วามส ามารถในก ารค ิดท ีม่ ผี ูส้ ร้างไวแ้ ล้ว ซึ่ง
สามารถจัดก ลุ่มได้ 2 ประเภท ได้แก่
1.1 แบบท ดสอบก ารค ดิ ท ว่ั ไป เปน็ แ บบท ดสอบท ีม่ ุ่งว ัดใหค้ รอบคลุมค วามสามารถในก ารค ิด
โดยเปน็ ค วามค ดิ ท อี่ ยบู่ นฐ านข องก ารใชค้ วามร ทู้ ัว่ ไป สว่ นใหญเ่ ปน็ ข อ้ สอบแ บบเลอื กต อบ (multiple choice)
แบบท ดสอบม าตรฐานท ี่ใช้ส ำ�หรับวัดค วามสามารถในการคิดทั่วไปท ี่ส ำ�คัญ เช่น Watson-Glaser Critical
Thinking Appraisal, Test of Enquiry Skills เป็นต้น
1.2 แบบท ดสอบค วามส ามารถในก ารค ดิ ล กั ษณะเฉพาะ (aspect specific critical thinking
test) เช่น Cornell class reasoning test, form X, test on appraising observations เป็นต้น
2. การส รา้ งแ บบท ดสอบก ารค ดิ ข น้ึ ใชเ้ อง เป็นแ บบท ดสอบท ีผ่ ูส้ อนห รือผ ูท้ ีส่ นใจจ ะว ัดเป็นผ ูท้ ีส่ ร้าง
ขึ้นใชเ้อง เนื่องจากแ บบส อบม าตรฐานส ำ�หรับก ารค ิดท ีม่ ใีชก้ ันท ั่วไป อาจไมส่ อดคล้องก ับเป้าห มายข องก ารว ัด
ที่ต ้องการ เช่น ทักษะก ารค ิด จุดเน้นท ี่ต้องการ ขอบเขตค วามสามารถท างการคิดท ี่ม ุ่งว ัด หรือก ลุ่มเป้าหมาย
ที่ต ้องการใช้แ บบสอบ เป็นต้น ผูส้ อนส ามารถส ร้างแ บบท ดสอบก ารค ิดข ึ้นใชเ้องเพื่อให้เหมาะส มแ ละส ัมพันธ์
กับค วามต้องการข องผู้สอนอย่างแ ท้จริง
หลักก ารส ร้างแบบวัดความสามารถทางการคิด
การค ิด (thinking) เป็นค วามส ามารถอ ย่างห นึ่งท างส มองท ีเ่กิดข ึ้นต ลอดเวลา การค ิดเป็นน ามธรรม
ที่มีลักษณะซับซ้อน ไม่สามารถมองเห็น ไม่สามารถสังเกต สัมผัสได้โดยตรง จึงต้องอาศัยหลักการวัดทาง
จ ิตม ิติ (psychometric) มาช่วยในก ารวัด
การวัดความสามารถทางการคิดของบุคคล ผู้สร้างเครื่องมือจะต้องมีความรอบรู้ในแนวคิดหรือ
ทฤษฎเีกี่ยวก บั “การค ิด” เพือ่ น �ำ มาเปน็ กร อบห รือโครงสร้างข องก ารค ดิ เมือ่ ม กี ารก �ำ หนดน ิยามเชงิ ป ฏิบตั กิ าร
ของโครงสร้าง/องค์ประกอบการคิดแล้ว จะทำ�ให้ได้ตัวชี้วัดหรือลักษณะพฤติกรรมเฉพาะที่เป็นรูปธรรม