Page 66 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 66
6-56 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา
หลักก ารวัดความสามารถในการคดิ
การคิดเป็นความสามารถของผู้เรียนที่มีลักษณะเป็นนามธรรม ต่างกับความสามารถด้านความรู้ที่
สามารถว ัดแ ละประเมินโดยใช้แบบทดสอบถ ามค วามร ู้ข องผู้เรียนได้อย่างช ัดเจน ปัญหาท ี่พ บในการป ฏิบัติ
ของผู้สอนด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านการคิดของผู้เรียนคือ การใช้แบบทดสอบให้ผู้เรียน
ตอบ โดยข ้อคำ�ถามเป็นการถามความรู้เกี่ยวกับการค ิด โดยเฉพาะท ี่เป็นข้อทดสอบแบบเลือกตอบมีค ำ�ตอบ
ให้เลือกต อบ ซึ่งผ ลท ี่ได้จ ึงเป็นการว ัดเฉพาะความร ู้เกี่ยวกับก ารคิด แต่ไม่ใช่ความส ามารถด ้านการคิดอ ย่าง
แทจ้ รงิ จงึ ไดม้ กี ารว ดั แ ละป ระเมนิ ผ ลก ารเรยี นร ดู้ า้ นก ารค ดิ ด ว้ ยก ารส รา้ งส ถานการณท์ ที่ �ำ ใหผ้ เู้ รยี นต อ้ งแ สดง
พฤติกรรมข องการค ิดที่ต ้องการว ัดแ ละป ระเมินอ อกม า แล้วน ำ�ผลง านห รือพ ฤติกรรมก ารค ิดท ี่แ สดงออกม า
นั้นมาเทียบกับเกณฑ์การประเมินที่ตั้งไว้ตามแบบของการคิดนั้นๆ ได้มีการจำ�แนกประเภทของการวัดด้าน
การคิดออกเป็น 2 แนวทาง (สำ�นักงานคณะก รรมการก ารศึกษาแห่งช าติ 2540: 85) ดังนี้
1. แนวทางข องนักว ัดผลก ลุ่มจ ิตมิติ (psychometric) แนวทางก ารวัดจิตม ิติน ี้เป็นข องกลุ่มนักว ัด
ทางการศึกษา จิตวิทยาที่พยายามศึกษา และวัดคุณลักษณะภายในของมนุษย์เป็นเวลามาเกือบศตวรรษ
เริ่มจ ากก ารศ ึกษาแ ละว ัดเชาวนป์ ัญญา (intelligence) ศึกษาโครงสร้างท างส มองข องม นุษย์ ด้วยค วามเชื่อว ่า
มีลักษณะเป็นองค์ประกอบและมีระดับความสามารถที่แตกต่างกันในแต่ละคน ซึ่งสามารถวัดได้โดยการใช้
แบบส อบม าตรฐาน ต่อมาได้ข ยายแ นวคิดของก ารว ัดค วามส ามารถท างส มองส ู่ก ารว ัดผลส ัมฤทธิ์ บุคลิกภาพ
ความถนัด และความสามารถในด้านต่างๆ รวมทั้งค วามสามารถในการค ิด
2. แนวทางของการวัดจากการปฏิบัติจริง (authentic performance measurement) แนวทาง
ก ารว ัดน ี้เป็นท างเลือกใหม่ท ี่เสนอโดยก ลุ่มน ักว ัดก ารเรียนร ู้ในบ ริบทท ี่เป็นธ รรมชาติ โดยการเน้นก ารว ัดจ าก
การปฏิบัติในชีวิตจริง หรือคล้ายจริงที่มีคุณค่าต่อตัวผู้ปฏิบัติ มิติของการวัดสนใจทักษะการคิดซับซ้อนใน
การปฏิบัติง าน ความร ่วมม ือในก ารแก้ปัญหาแ ละการประเมินต นเอง เทคนิคก ารวัดใช้การส ังเกตส ภาพง าน
ที่ป ฏิบัติจ ากก ารเขียนเรียงค วาม การแก้ป ัญหาในส ถานการณ์เหมือนโลกแห่งค วามเป็นจริง และการรวบรวม
งานในแ ฟ้มร วมผลงานเด่น (portfolio)
หลังจ ากศ ึกษาเนื้อหาส าระเรื่องท ี่ 6.3.1 แล้ว โปรดปฏิบัติก ิจกรรม 6.3.1
ในแ นวก ารศ ึกษาหน่วยท ี่ 6 ตอนท ี่ 6.3 เรื่องที่ 6.3.1