Page 28 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 28

1-18 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

            6.	กระทรวง​ศึกษาธิการ รับ​ผิด​ชอบ​การ​นิเทศ​เกี่ยว​กับ​การ​ดูแล​และ​การ​พัฒนา​เด็ก​ปฐมวัย​
ตั้งแต่แ​ รกเ​กิด

            7.	การ​ศึกษา​ชั้น​อนุบาลเ​ป็นการศ​ ึกษา​ภาค​บังคับ โดย​ไม่ค​ ิด​ค่าใ​ช้​จ่าย
       ปรัชญาก​ าร​ศึกษา การป​ ฐมวัย​ศึกษาใ​น​ประเทศ​อิสราเอล​นั้น พัฒนา​จาก​รากฐาน​ความเ​ชื่อ​ที่ว​ ่า การ​
เรียน​รู้ คือ กระบวนการ​ที่​เกิด​ขึ้น​ภายใน จาก​การ​จัด​รวบรวม​ข้อมูล​ความ​รู้​ที่​มี​อยู่​แล้ว​ให้​เป็น​ระบบ​ระเบียบ
พร้อมท​ ี่จ​ ะน​ ำ�​มาใ​ช้ได้ต​ ลอดเ​วลา การเ​รียนร​ ู้ข​ องเ​ด็กป​ ฐมวัยเ​กิดข​ ึ้นท​ ุกหนท​ ุกแ​ ห่ง และเ​กิดข​ ึ้นต​ ลอดเ​วลา เด็ก​
ปฐมวัย​เรียน​รู้ท​ ั้ง​ทาง​ตรงโ​ดยผ​ ่านป​ ระสบการณ์​การเ​รียน​รู้ท​ ี่ผ​ ู้ใหญ่จ​ ัดใ​ห้ และ​ทาง​อ้อม​โดย​ผ่าน​ประสบการณ์​
ในช​ ีวิตป​ ระจำ�​วัน ประสบการณ์ก​ ารเ​รียนร​ ูท้​ ีเ่​กิดข​ ึ้นไ​มว่​ ่าจ​ ะเ​ป็นท​ างต​ รงห​ รือท​ างอ​ ้อม ล้วนส​ ่งผ​ ลต​ ่อพ​ ัฒนาการ​
และก​ ารเ​รียนร​ ูข้​ องเ​ด็ก เด็กต​ ้องไ​ดเ้​ผชิญก​ ับป​ ระสบการณท์​ ีจ่​ ะช​ ่วยใ​หไ้​ดเ้​รียนร​ ูส้​ ิ่งต​ ่างๆ รอบต​ ัว และไ​ดเ้​รียนร​ ู​้
เกี่ยว​กับก​ ฎ​เกณฑ์ว​ ัฒนธรรมท​ างส​ ังคม
       เนื่องจาก​เด็ก​ปฐมวัย​ไม่​สามารถ​ที่​จะ​มุ่ง​สมาธิ​ใน​สิ่ง​ใด​สิ่ง​หนึ่ง​ได้​เป็น​ระยะ​เวลา​นาน ยิ่ง​กว่า​นั้น​การ​
เข้า​ร่วม​กิจกรรมข​ อง​เด็ก​ปฐมวัย ก็​ขึ้นอ​ ยู่ก​ ับค​ วาม​สนใจ​ของ​เด็ก​เป็นส​ ำ�คัญ ดังน​ ั้นใ​นก​ าร​จัดการ​ศึกษาใ​ห้​กับ​
เด็กป​ ฐมวัย (3-6 ปี) ควรม​ ีค​ วาม​หลากห​ ลายข​ อง​กิจกรรม โดยม​ ีพ​ ื้น​ฐาน​ที่​การ​เล่น​เป็น​หลัก
       ปรัชญาก​ าร​ปฐมวัยศ​ ึกษา​ของป​ ระเทศอ​ ิสราเอล พัฒนา​มา​จากค​ วามเ​ชื่อพ​ ื้น​ฐานใ​น​เรื่องต​ ่างๆ ดังนี้

            1.	 เก่ียว​กับ​เด็ก เชื่อ​ว่า​เด็ก​แต่ละ​คน​มี​เอกลักษณ์​เฉพาะ​ตน และ​พัฒนา​ตาม​ครรลอง​ของ​ชีวิต​
ตน เด็กแ​ ต่ละค​ น​จะม​ ีว​ ิธีก​ ารเ​รียน​รู้​ที่แ​ ตก​ต่าง​กัน แต่เ​ด็ก​ทุก​คนม​ ีพ​ ื้นฐ​ าน​ของ​ความ​อยาก​รู้อ​ ยากเ​ห็น และม​ ี​
ความ​สามารถ​ใน​การ​เป็น​นัก​คิด นักเรียน​รู้ โดย​การ​สนับสนุน​ของ​ผู้ใหญ่ เด็ก​เรียน​รู้​ที่​จะ​จัดการ​กับ​สิ่ง​ที่​อยู่​
แวดล้อม ไม่​ว่าจ​ ะ​เป็น​ทางก​ ายภาพ​หรือ​ทางส​ ังคม

            2.	 เกี่ยว​กับ​ครู เชื่อ​ว่า​ครู​แต่ละ​คน​มี​เอกลักษณ์​เฉพาะ​ตน มี​ทั้ง​จุด​เด่น​และ​จุด​ด้อย ครู​ควร
​เป็น​นัก​คิด นักเรียน​รู้ รู้จัก​ประเมิน​ตนเอง และ​รับ​ผิด​ชอบ​ต่อ​สิ่ง​ที่​ตน​กระทำ�  ครู​ต้อง​ยอมรับ​ว่า​ตน​ไม่รู้​
ทกุ เ​รื่อง ดงั น​ ัน้ จ​ งึ ต​ ้องเ​รียนร​ ูไ​้ ปพ​ รอ้ มก​ บั เ​ดก็ และเ​รียนร​ ูร​้ ะหว่างก​ นั รูจ้ ักก​ ารเ​กบ็ ร​ วบรวมข​ อ้ มลู ตัง้ ส​ มมตฐิ าน
สรุป และ​ประเมิน​ผล ครู​ต้อง​สอน​ให้​เด็ก​มี​ความ​รับ​ผิด​ชอบ ครู​ต้อง​รู้จัก​เด็ก​เพื่อ​จะ​ช่วย​ให้​เด็ก​ได้​พัฒนา​
เต็ม​ศักยภาพ​ใน​ทุก​ด้าน

            3.	 เกยี่ วก​ บั ส​ ภาพแ​ วดลอ้ ม เชือ่ ว​ า่ จ​ ะต​ อ้ งป​ ลอดภยั กระตุน้ ค​ วามค​ ดิ แ​ ละม​ ศ​ี ลิ ป์ ตอ้ งช​ ว่ ยใ​หเ​้ ดก็ ​
ได้ท​ ำ�งานเ​ป็นกล​ ุ่มห​ รือร​ ายบ​ ุคคลก​ ็ได้ สภาพแ​ วดล้อม ประกอบด​ ้วย​ วัสดุอ​ ุปกรณ์ท​ ี่ใ​ห้เ​ด็กไ​ด้ค​ ้นพ​ บ ทดลอง
เล่น สร้างสรรค์ อัน​จะ​นำ�​ไป​สู่​กิจกรรม​ที่​ก่อ​ให้​เกิด​การ​รู้​หนังสือ สภาพ​แวดล้อม​ยัง​จะ​ต้อง​เอื้อต​ ่อ​การ​พัฒนา​
ของ​เด็ก​ใน​ทุกด​ ้าน

            4.	 เกยี่ ว​กับ​ผ​ู้ปกครอง เชื่อว​ ่า​เป็น​ครู​คนแ​ รก ฝัน​และ​หวังใ​ห้​ลูกม​ ี​ความ​สุข และ​เจริญ​ก้าวหน้า​
ใน​การ​เรียนแ​ ละ​การง​ าน ผู้​ปกครอง​ควรม​ ี​ส่วน​ใน​การ​จัดการ​ศึกษาข​ อง​เด็กม​ าก​ที่สุด

       จุด​มุ่ง​หมาย​ของ​การ​ปฐมวัย​ศึกษา การ​ศึกษา​ระดับ​ปฐมวัย​ใน​ประเทศ​อิสราเอล มุ่ง​ที่​จะ​พัฒนา​เด็ก​
ใน​ทุก​ด้าน​ตั้งแต่​การ​พัฒนา​ด้าน​ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติ​ปัญญา​และ​จริยธรรม ทั้งนี้​โดย​คำ�นึง​ถึง​ความ
​แตก​ต่าง​ระหว่าง​บุคคล​ของเ​ด็ก​เป็นห​ ลัก
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33