Page 29 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 29

วิวัฒนาการ​ของ​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา 1-19

       จุดม​ ุง่ ห​ มายป​ ระการส​ �ำ คัญข​ องก​ ารจ​ ัดการศ​ กึ ษาร​ ะดบั ป​ ฐมวยั ใ​นป​ ระเทศอ​ สิ ราเอล คอื ก​ ารส​ ง่ เ​สริมใ​ห​้
เด็ก​มีท​ ักษะ​การด​ ำ�รง​ชีวิต โดยค​ ำ�นึงถ​ ึง​สุขภาพ​และค​ วามป​ ลอดภัยเ​ป็นส​ ำ�คัญ นอกจาก​นั้น ยังม​ ุ่งเ​น้นถ​ ึง​การ​
พัฒนาท​ ัศนคติท​ างบ​ วกต​ ่อต​ นเองแ​ ละผ​ ูอ้​ ื่น การป​ ลูกฝ​ ังค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารใ​ชแ้​ รงผลักด​ ันท​ างอ​ ารมณใ์​นก​ าร​
เอาชนะต​ ่อค​ วามย​ ากล​ ำ�บาก ความท​ ้าทาย และก​ ารป​ ระสบค​ วามส​ ำ�เร็จ ประการส​ ุดท้าย คือ เพื่อท​ ีจ่​ ะพ​ ัฒนาเ​ด็ก​
ใหม้​ ที​ ักษะก​ ารเ​รียนร​ ูแ้​ ละพ​ ฤติกรรมท​ ีส่​ ังคมย​ อมรับ มพี​ ื้นฐ​ านข​ องค​ วามเ​ป็นม​ นุษยช​ นโ​ดยค​ ำ�นึงถ​ ึงว​ ัฒนธรรม​
และ​ประเทศช​ าติ​เป็น​หลัก ตัวอย่างท​ ี่​เห็นไ​ด้​ชัด ได้แก่ โรงเรียน​สำ�หรับ​เด็ก​ปฐมว​ ัย​ในคิบ​บุทช์

       รูป​แบบ​การ​จัดการ​ปฐมวัย​ศึกษา การ​จัดการ​ปฐมวัย​ศึกษา​ของ​ประเทศ​อิสราเอล แบ่ง​ออก​เป็น
3 รูปแ​ บบ ดังนี้

            1.	 ศนู ยด​์ ูแลเ​ด็ก​เล็ก (Day Care Centres) ส�ำ หรับ​เด็ก​วยั 3 เดอื น ถึง 3 ปี
            ศูนย์​ดูแล​เด็ก​เล็ก อยู่​ภาย​ใต้​การ​ดูแล​ของ​องค์การ​อาสา​สมัคร​ของ​สตรี​และ​กระทรวง​แรงงาน​
และ​สวัสดิการ​สังคม จัด​ขึ้น​เพื่อ​บริการ​แม่​ที่​ต้อง​ทำ�งาน กระทรวง​แรงงาน​จะ​เป็น​ผู้​สนับสนุน​ค่า​ใช้​จ่าย​โดย​
ค�ำ นงึ ถ​ งึ ร​ ายไ​ดข​้ องแ​ ตล่ ะค​ รอบครวั เ​ปน็ ห​ ลกั ปจั จบุ นั ท​ ัง้ ส​ องอ​ งคก์ ารด​ งั ก​ ลา่ วด​ แู ลศ​ นู ยเ​์ ดก็ เ​ลก็ และใ​นอ​ นาคต​
กระทรวงศ​ ึกษาว​ ัฒนธรรม และก​ ารก​ ีฬาจ​ ะ​ช่วยด​ ูแลศ​ ูนย์​ดูแลเ​ด็ก 2 ปี
            ศูนย์ด​ ูแลเ​ด็กเ​ล็กข​ องภ​ าคเ​อกชนห​ ลาย​แห่ง ไม่ไ​ด้​รับเ​งิน​อุดหนุนจ​ ากท​ างภ​ าคร​ ัฐ ทางเ​ลือกใ​น​
การจ​ ัดการ​ศึกษา​สำ�หรับเ​ด็ก​ในว​ ัยน​ ี้ ได้แก่ การด​ ูแล​โดย​ใช้ร​ ะบบค​ รอบครัว มี​แม่​บ้านช​ ่วยด​ ูแล​เด็กเ​ป็นก​ลุ่ม
กลุ่ม​ละ 5 คน โดยม​ ีเ​งื่อนไข​ว่า​บ้านข​ อง​แม่บ​ ้านต​ ้องม​ ีส​ ภาพ​แวดล้อมท​ ี่เ​หมาะ​สม ทั้งนี้ก​ ระทรวงแ​ รงงาน​และ​
สวัสดิการ​สังคม​จะ​เป็น​ผู้​ตรวจ​สอบ​แม่​บ้าน และ​มี​การ​อบรม​ให้​ความ​รู้​แก่​แม่​บ้าน ผู้​ปกครอง​ชอบ​ศูนย์​เลี้ยง​
เด็กใ​น​ลักษณะน​ ี้ เพราะก​ าร​ดูแล​เด็ก​มี​ความเ​ป็นก​ ันเองแ​ ละอ​ บอุ่น
            2. 	สถาน​รับเ​ลี้ยง​เด็ก (Nursery School) ส�ำ หรับเ​ด็กว​ ัย 3-5 ปี
            สถาน​รับ​เลี้ยง​เด็ก​อยู่​ภาย​ใต้​การ​ดูแล​ของ​สภา​เทศบาล ซึ่ง​จะ​ให้การ​อุดหนุน​เรื่อง​สถาน​ที่
อุปกรณ์ เงนิ เ​ดือนค​ รผู​ ชู​้ ว่ ย และค​ ่าใ​ชจ​้ า่ ย​ อืน่ ๆ ส่วนก​ ระทรวงศ​ ึกษาธกิ าร จะเ​ปน็ ผ​ จู้​ า่ ยเ​งนิ เ​ดอื นค​ รแ​ู ละใ​หก้ าร​
นิเทศ เงิน​อุดหนุน​แก่​ครอบครัว​ของเ​ด็ก ทั้งนี้​ขึ้น​อยู่ก​ ับร​ าย​ได้ข​ อง​แต่ละค​ รอบครัว อย่างไรก​ ็ตาม ยัง​มีส​ ถาน​
รับเ​ลี้ยงเ​ด็กข​ องเ​อกชนท​ ี่ม​ ีก​ าร​จด​ทะเบียนแ​ ละ​ดูแล​โดย​กระทรวงศ​ ึกษาธิการ แต่​ไม่​ได้ร​ ับเ​งิน​อุดหนุน ครู​ใน​
สถานร​ ับเ​ลี้ยง​เด็กท​ ุกค​ นจ​ ะ​ต้อง​มี​คุณสมบัติ​ตามท​ ี่ก​ ำ�หนด
            3.	 โรงเรยี นอ​ นบุ าล (Kindergarten) ส�ำ หรับเ​ด็ก​วยั 5-6 ปี
            การ​ศึกษา​ชั้น​อนุบาล​เป็นการ​ศึกษา​ภาค​บังคับ จัด​โดย​ไม่​คิด​ค่า​ใช้​จ่าย หน่วย​การ​ศึกษา​ของ​
เทศบาลใ​หเ​้ งนิ ส​ นบั สนนุ ค​ า่ อ​ าคารส​ ถานท​ ี่ อปุ กรณ์ เงนิ เ​ดอื นค​ รผ​ู ชู​้ ว่ ย และค​ า่ ใ​ชจ​้ า่ ย​ อืน่ ๆ กระทรวงศ​ กึ ษาธกิ าร​
จะใ​ห้เ​งินเ​ดือนค​ รูอ​ นุบาลแ​ ละน​ ิเทศก​ ารส​ อน ครูอ​ นุบาลท​ ุกค​ นจ​ ะต​ ้องม​ ีค​ ุณสมบัติต​ ามท​ ี่​กำ�หนด ในท​ ุกช​ ุมชน​
จะม​ ีส​ ถานร​ ับ​เลี้ยง​เด็ก​และโ​รงเรียน​อนุบาล
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34