Page 31 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 31

วิวัฒนาการข​ อง​การ​ปฐมวัย​ศึกษา 1-21

ของท​ ุก​คน เพื่อ​สร้าง​รากฐานค​ ุณภาพ​ชีวิตใ​ห้เ​ด็กพ​ ัฒนา​ไป​สู่ค​ วามเ​ป็นม​ นุษย์​ที่​สมบูรณ์ เกิด​คุณค่า​ต่อ​ตนเอง​
และ​สังคม (กรมว​ ิชาการ 2546 ข: 4)

       รูป​แบบ​การ​จัดการ​ปฐมวัย​ศึกษา  การ​จัดการ​ศึกษา​สำ�หรับ​เด็ก​ปฐมวัย แยก​ออก​เป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มเ​ด็กอ​ ายุ​ตํ่าก​ ว่า 3 ปี และ​เด็กอ​ ายุ​ระหว่าง 3-5 ปี (สำ�นักงาน​เลขาธิการ​สภา​การ​ศึกษา 2551: 14) ดังนี้

            1. 	เดก็ อ​ ายตุ​ ่ํา​กว่า 3 ปี เป็นการจ​ ัด​บริการใ​นล​ ักษณะ​ของ​เลี้ยง​ดูใ​นส​ ถาน​รับเ​ลี้ยง​เด็ก ซึ่งม​ ีชื่อ​
เรยี กแ​ ตกต​ า่ งก​ นั เชน่ ศนู ยเ​์ ดก็ เ​ลก็ ศนู ยพ​์ ฒั นาเ​ดก็ ป​ ฐมวยั ศนู ยเ​์ ดก็ ศนู ยพ​์ ฒั นาเ​ดก็ สถานร​ บั เ​ลีย้ งเ​ดก็ ศนู ย​์
พัฒนาเ​ด็กก​ ่อนเ​กณฑ์ ฯลฯ ถึงแ​ มจ้​ ะม​ ีชื่อเ​รียกแ​ ตกต​ ่างก​ ัน แต่ก​ ารพ​ ัฒนาเ​ด็กอ​ ายตุ​ ํ่าก​ ว่า 3 ปี มวี​ ัตถุประสงค​์
โดย​รวม​คล้าย​กัน คือ มุ่ง​ส่ง​เสริม​ให้​เด็ก​มี​พัฒนาการ​ด้าน​ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ​สติ​ปัญญา​ที่​
เหมาะส​ มก​ ับ​วัย ความส​ ามารถ ความ​สนใจ และ​ความ​แตกต​ ่างร​ ะหว่าง​บุคคล

            2.	 เดก็ อ​ ายุ 3-5 ปี เป็นการจ​ ัดการศ​ ึกษาใ​นล​ ักษณะข​ องก​ ารอ​ บรมเ​ลี้ยงด​ ู และใ​ห้การศ​ ึกษาเ​พื่อ​
เตรียม​ความพ​ ร้อม​ในก​ ารเ​รียนร​ ะดับ​ประถม​ศึกษาใ​ห้​แก่เ​ด็กใ​นร​ ูปแ​ บบต​ ่างๆ กัน 3 รูป​แบบ ดังนี้

                 2.1	 ศูนย์เ​ด็ก ศูนย์​พัฒนา​เด็ก รับเ​ด็กอ​ ายุ 2-6 ปี
                 2.2	 ชั้นเ​ด็ก​เล็ก 1 ปี ก่อนช​ ั้นป​ ระถมศ​ ึกษา
                 2.3	 ชั้นอ​ นุบาล​ศึกษา ประกอบด​ ้วย​ชั้นอ​ นุบาล​ศึกษา​ปี​ที่ 1 ชั้น​อนุบาลศ​ ึกษาป​ ี​ที่ 2 และ​
ชั้นอ​ นุบาลศ​ ึกษา​ปี​ที่ 3
       การ​จัด​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้ ให้​แก่​เด็ก​ปฐมวัย ยึด​หลัก​เด็ก​ทุก​คน​มี​ความ​สามารถ​เรียน​รู้​และ​พัฒนา​
ตนเอง​ได้ และถ​ ือว่าเ​ด็ก​มีค​ วามส​ ำ�คัญท​ ี่สุด กระบวนการจ​ ัดการ​เรียนร​ ู้​สามารถ​ส่ง​เสริมใ​ห้เ​ด็กป​ ฐมวัยพ​ ัฒนา​
ได้​ตาม​ธรรมชาติ​และ​เต็ม​ตาม​ศักยภาพ คำ�นึง​ถึง​ความ​แตก​ต่าง​ระหว่าง​บุคคล พัฒนา​เด็ก​เป็น​องค์​รวม​ผ่าน​
การเ​ล่น และ​กิจกรรมท​ ี่เ​หมาะ​สมก​ ับว​ ัย โดย​ประสาน​ความร​ ่วม​มือ​ระหว่างค​ รอบครัว ชุมชน และ​สถานศ​ ึกษา​
ในก​ าร​พัฒนาเ​ด็ก
       การ​จัดการ​เรียน​รู้​ให้​แก่​เด็ก​ปฐมวัย​ใช้​วิธี​การ​ที่​หลาก​หลาย ทั้ง​การ​สนทนา การ​สาธิต การ​ทดลอง
บทบาท​สมมติ การ​ทัศนศึกษา​แหล่ง​เรียน​รู้ การ​ให้​เด็ก​ได้​ลงมือ​ปฏิบัติ​ด้วย​ตนเอง นอกจาก​นั้น​ได้​มี​การนำ�​
นวัตกรรม​การ​จัดการ​เรียน​รู้ท​ ี่​เป็นอ​ งค์ค​ วามร​ ู้จ​ ากต​ ่างป​ ระเทศม​ าใ​ช้​ดำ�เนิน​การ​พัฒนาเ​ด็ก เช่น มอน​เตส​ซอ​รี
ไฮส​โคพ เรก​จิ​โอเอ​มิ​เลีย วอ​ลด​อร์ฟ การ​สอน​แบบ​โครงการ การ​สอน​ภาษา​แบบ​ธรรมชาติ ฯลฯ โดย​ได้​
นำ�​แนวคิด​มา​ปรับ​ใช้​ใน​บริบท​ที่​เหมาะ​สมกับ​สังคม​ไทย สถาน​ศึกษา โรงเรียน​อนุบาล​สังกัด​สำ�นักงาน
​คณะ​กรรมการ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน โรงเรียน​เอกชน โรงเรียน​เทศบาล โรงเรียน​ของ​กรุงเทพมหานคร
ตลอดจ​ นศ​ นู ยพ์​ ฒั นาเ​ด็กใ​นค​ วามด​ ูแลข​ องเ​ทศบาล และอ​ งคก์ รป​ กครองส​ ่วนท​ อ้ งถ​ ิ่นท​ ีไ​่ ดร​้ ่วมก​ ันจ​ ดั การศ​ ึกษา​
และ​นำ�​นวัตกรรมก​ ารจ​ ัดการเ​รียนร​ ู้​มาใ​ช้ใ​น​การพ​ ัฒนา​เด็ก
       การด​ ำ�เนินก​ ารเ​รียนร​ ู้ใ​นร​ ะดับป​ ฐมวัยศ​ ึกษา ดำ�เนินก​ ารใ​นส​ ถานท​ ี่ท​ ี่ม​ ีชื่อเ​รียกแ​ ตกต​ ่างก​ ันจ​ ากห​ ลาย​
หนว่ ยง​ าน ซึง่ แ​ ตล่ ะห​ นว่ ยง​ านม​ เ​ี ปา้ ห​ มายก​ ารจ​ ดั และร​ ปู แ​ บบว​ ธิ ก​ี ารจ​ ดั ท​ แี​่ ตกต​ า่ งก​ นั (ส�ำ นกั งานค​ ณะก​ รรมการ​
การศ​ ึกษาแ​ ห่งช​ าติ 2545: 24-26) ดังนี้
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36