Page 25 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 25

วิวัฒนาการ​ของก​ าร​ปฐมวัยศ​ ึกษา 1-15

เรอ่ื ง​ท่ี 1.1.3 ลักษณะก​ าร​จัดการ​ปฐมวัย​ศกึ ษา

       การ​จัดการ​ศึกษา​ให้​แก่​เด็ก​ปฐมวัย ได้​รับ​การ​ยอมรับ​กัน​อย่าง​แพร่​หลาย​เกือบ​ทั่ว​โลก​ว่า​มี​ความ​
สำ�คัญ​อย่าง​มาก​ต่อ​การ​พัฒนา​ทรัพยากร​มนุษย์​อัน​มี​ค่า​ยิ่ง​ของ​ประเทศ​ชาติ ดัง​นั้น ใน​การ​พัฒนา​ประเทศ​ให้​
เป็นไ​ปอ​ ย่างต​ ่อเ​นื่องใ​นท​ ิศทางท​ ีพ่​ ึงป​ ระสงค์ จึงค​ วรเ​ริ่มต​ ้นก​ ารพ​ ัฒนาเ​ด็กต​ ั้งแตช่​ ่วงป​ ฐมวัย อันเ​ป็นช​ ่วงส​ ำ�คัญ​
ที่สุด​ของก​ าร​วาง​รากฐาน​การ​พัฒนาท​ ั้งร​ ่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติป​ ัญญา ตลอดจ​ นก​ าร​ปลูก​ฝังค​ ่า​นิยม
คุณธรรม และ​บุคลิกภาพ เพื่อใ​ห้​เด็กเ​ติบโตเ​ป็น​ประชากรท​ ี่ม​ ี​คุณภาพ อย่างไร​ก็ตาม การ​จัดการศ​ ึกษา​ให้​แก​่
เดก็ ป​ ฐมวยั ข​ องแ​ ตล่ ะป​ ระเทศม​ ร​ี ปู แ​ บบแ​ ละแ​ นวก​ ารจ​ ดั ท​ แี​่ ตกต​ า่ งก​ นั ทัง้ นขี​้ ึน้ อ​ ยกู​่ บั ส​ ภาพส​ งั คมแ​ ละเ​ศรษฐกจิ
ปรัชญา และ​นโยบาย​ใน​การจ​ ัดการศ​ ึกษาข​ องแ​ ต่ละป​ ระเทศ

       ในเ​รื่องน​ ี้ จะก​ ล่าวถ​ ึงก​ ารจ​ ัดการป​ ฐมวัยศ​ ึกษาข​ องต​ ่างป​ ระเทศแ​ ละป​ ระเทศไทย สำ�หรับต​ ่างป​ ระเทศ​
จะ​ยก​ตัวอย่าง​การ​จัดการ​ปฐมวัย​ศึกษา​ของ​ประเทศ​ออสเตรเลีย ที่​ให้​ความ​สำ�คัญ​กับ​การ​จัดการ​ปฐมวัย​ที่​
มี​คุณภาพ เพื่อ​เตรียม​เด็ก​ก่อน​เข้า​สู่​การ​ศึกษา​ภาค​บังคับ โดย​มี​การ​พัฒนา​อย่าง​ต่อ​เนื่อง ทั้ง​ยัง​มี​รูป​แบบ​
การจ​ ัดการ​ศึกษา​อย่างห​ ลาก​หลาย และน​ ่าส​ นใจ เนื่องจาก​แต่ละร​ ัฐแ​ ละ​เขตก​ ารป​ กครอง​มีอ​ ิสระ​ในก​ าร​จัดการ​
ปฐมวัยศ​ กึ ษาข​ องต​ นเอง ส�ำ หรบั ก​ ารป​ ฐมวัยศ​ กึ ษาใ​นป​ ระเทศอ​ ิสราเอล เปน็ ป​ ระเทศท​ ีเ่​ป็นผ​ ู้นำ�​ดา้ นก​ ารป​ ฐมวัย​
ศึกษา จน​ได้​รับ​การ​ยอมรับ​ใน​เรื่อง​คุณภาพ​การ​จัดการ​ปฐมวัย​ศึกษา และ​เป็นต้น​แบบ​ที่​หลาย​ประเทศ​นำ�​ไป​
ประยุกต์ใ​ ช้​ใน​ปัจจุบัน

1.	 การป​ ฐมวยั ศ​ กึ ษาข​ อง​ประเทศอ​ อสเตรเลยี

       การ​จัดการ​ปฐมวัย​ศึกษา​ของ​ประเทศ​ออสเตรเลีย​มี​ลักษณะ​พิเศษ​ที่​แตก​ต่าง​จาก​หลายๆ ประเทศ​
ทั่ว​โลก เนื่องจาก​ประเทศ​ออสเตรเลีย​เป็น​ประเทศ​ที่​มี​ขนาด​ใหญ่​เป็น​อันดับ 6 ของ​โลก มี​การ​ปกครอง​ใน​
รูป​ของ​สหพันธรัฐ​ใน​เครือจักรภพอ​ ังกฤษ ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย 6 รัฐ คือ นิวเซาท์เวลส์ (New South Wales)
ควีน​ส์​แลนด์ (Queensland) ออสเตรเลีย​ตอน​ใต้ (South Australia) วิคตอเรีย (Victoria) แท​สมา​เนีย
(Tasmania) และออสเตรเลยี ต​ ะวนั ต​ ก (Western Australia) และ 2 เขตป​ กครองต​ นเอง คอื เขตก​ ารป​ กครอง
ต​ อนเ​หนอื (Northern Territory) และเ​ขตก​ ารป​ กครองเ​มอื งห​ ลวงอ​ อสเตรเลยี (Australia Capital Territory)
ที่ แคนเบอร์รา (Canberra) ซึ่ง​เป็นเ​มืองห​ ลวงข​ อง​ประเทศ แต่ละร​ ัฐ​และ​เขต​การป​ กครองต​ นเอง​มีก​ ฎหมาย​
เกี่ยวก​ ับก​ ารศ​ ึกษาแ​ ละม​ รี​ ะบบก​ ารศ​ ึกษาข​ องต​ นเอง หรืออ​ าจก​ ล่าวไ​ดว้​ ่าป​ ระเทศอ​ อสเตรเลีย​มรี​ ะบบก​ ารศ​ ึกษา​
ทั้งหมด 8 ระบบ อยู่ภ​ ายใน​ระบบ​การ​ศึกษาใ​หญ่ร​ ะบบเ​ดียว (เครือข​ ่าย​การศ​ ึกษาท​ างเ​ลือก http://choice2
learn.net/blog)

       การจ​ ัดการป​ ฐมวัยศ​ ึกษาใ​นป​ ระเทศอ​ อสเตรเลียม​ ีล​ ักษณะท​ ี่เ​ปิดก​ ว้างแ​ ละไ​ม่เ​ป็นแ​ บบบ​ ังคับ โดยใ​น​
ช่วงแ​ รกพ​ ่อแ​ มผ่​ ูป้​ กครองน​ ิยมน​ ำ�​เด็กใ​นว​ ัยน​ ีไ้​ปอ​ ยูใ่​นค​ วามด​ ูแลข​ องส​ ถานร​ ับเ​ลี้ยงเ​ด็ก (Day Care) หรืออ​ ยูใ่​น​
การด​ ูแลข​ องค​ รอบครัว จากน​ ั้นจ​ ึงน​ ำ�​ไปเ​ข้าเ​รียนใ​นโ​รงเรียนป​ ฐมวัย ซึ่งจ​ ากส​ ถิตปิ​ ี ค.ศ. 2005 พบว​ ่า มเี​ด็กอ​ ายุ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30