Page 50 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 50
6-40 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
3. ให้น ักเรียนเลื่อนแ ท่งส ี่เหลี่ยมแต่ละอันไปทางซ้ายห รือขวา ดังภ าพ
4. ผลรวมข องพื้นที่ข องแ ท่งสี่เหลี่ยมยังคงเดิมห รือไม่
กิจกรรมที่ 1 นักเรียนที่ยังไม่มีความสามารถในการอนุรักษ์พื้นที่ คือนักเรียนที่ตอบว่าพื้นที่ของ
แท่งส ี่เหลี่ยมไม่ค งเดิม นักเรียนเหล่านี้ควรได้รับประสบการณ์ท ี่เกี่ยวก ับการอนุรักษ์พื้นที่ จนส ามารถตอบ
ได้ว่าพื้นที่ของแท่งสี่เหลี่ยมคงเดิม เนื่องจากจำ�นวนแท่งสี่เหลี่ยมเล็กๆ ยังคงเท่าเดิม แต่เปลี่ยนรูปร่างไป
ในการเผชิญประสบการณ์เกี่ยวกับการอนุรักษ์พื้นที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้เรื่องการวัดพื้นที่ได้
อย่างเข้าใจ
กิจกรรมท ี่ 2 หน่วยก ารวัดพนื้ ท่ี
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนเลือกห น่วยการวัดพ ื้นที่ได้อ ย่างเหมาะสม
อุปกรณ์ 1. รูปท ี่ต ้องการหาพื้นที่ (รูปข นาดใหญ่) ได้แก่ รูปสามเหลี่ยม รูปว งกลม รูปส ี่เหลี่ยมจัตุรัส
รูปสี่เหลี่ยมผ ืนผ ้า
2. ร ูปที่ต้องการใช้เป็นหน่วยการวัด (รูปขนาดเล็ก) ได้แก่ รูปสามเหลี่ยม รูปวงกลม
รูปส ี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปส ี่เหลี่ยมผืนผ้า (ควรใช้กระดาษบาง เช่น กระดาษล อกลาย เพื่อว ่า
ในกรณีที่ทาบลงบนรูปที่ต้องการหาพื้นที่แล้วเกิดทับเส้นรอบรูป จะช่วยให้มองเห็นเส้น
รอบร ูปได้)
วิธีก าร 1. ให้นักเรียนทดลองนำ�ร ูปเรขาคณิตทีละชนิดไปปูให้เต็มรูปที่ต้องการหาพื้นที่ ทดลองทำ�
หลายๆ ครั้ง โดยใช้ท ั้งรูปที่ต ้องการห าพื้นที่และร ูปที่ต้องการใช้เป็นหน่วยการว ัด
2. ให้น ักเรียนอ ภิปรายว่าร ูปล ักษณะใดส ามารถครอบคลุมพ ื้นที่ได้เต็มโดยง ่าย และส ามารถ
นับจำ�นวนร ูปทั้งหมดได้ง ่าย โดยเฉพาะในกรณีท ี่เป็นเศษ
กิจกรรมที่ 2 ช่วยให้นักเรียนเข้าใจได้ชัดเจนว่าทำ�ไมจึงเลือกใช้ “ตารางหน่วย” เป็นหน่วยการวัด
ทั้งนี้เป็นเพราะรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเป็นรูปที่ปูให้เต็มพื้นได้ง่าย และในกรณีที่เหลือเศษก็สามารถคำ�นวณได้
ง่ายว่าเป็นกี่ส่วนข องจำ�นวนเต็ม