Page 18 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 18

2-8 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เรื่องท​ ี่ 2.1.1 	คารโ์ บไฮเดรต

       คาร์โบไฮเดรตเ​ป็นส​ าร​ชีว​โมเลกุล​ที่​มีค​ วามส​ ำ�คัญต​ ่อส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิต คือ เป็น​แหล่ง​พลังงาน​หลักข​ องส​ ิ่งม​ ี​
ชีวิต บางช​ นิดเ​ป็นส​ ่วนป​ ระกอบข​ องเ​ยื่อห​ ุ้มเ​ซลล์ บางช​ นิดเ​ป็นส​ ารต​ ั้งต​ ้นใ​นก​ ารส​ ังเคราะห์ส​ ารท​ ี่จ​ ำ�เป็นต​ ่อก​ าร​
ทำ�งานใ​นก​ ระบวนการ​ดำ�รงช​ ีวิต และ​บาง​ชนิด​ทำ�​หน้าที่​ร่วม​กับส​ ารช​ ีวโ​มเลกุล​อื่น เป็นต้น ซึ่งค​ าร์โบไฮเดรตม​ ี​
หลายช​ นิด และ​การนำ�ค​ าร์โบไฮเดรต​ไป​ใช้ใ​นก​ ระบวนการด​ ำ�รง​ชีวิต​เกิดข​ ึ้น​โดย​กระบวนการ​สลายส​ าร​เพื่อใ​ห้​
ได้​พลังงาน และ​เพื่อน​ ำ�​ไป​ใช้ใ​นก​ ารส​ ร้าง​สาร​อื่น

1. 	ชนดิ ​ของค​ าร์โบไฮเดรต*

       คาร์โบไฮเดรตท​ ีพ่​ บใ​นธ​ รรมชาตมิ​ หี​ ลายช​ นิด อาจเ​ป็นช​ นิดน​ ํ้าตาลโ​มเลกุลเ​ดี่ยวซ​ ึ่งจ​ ัดเ​ป็นห​ น่วยย​ ่อย​
ที่สุดข​ อง​คาร์โบไฮเดรต​เรียกว​ ่า มอโ​น​แซ็กค​ า​ไรด์ (monosaccharide) ชนิดท​ ี่ม​ ี​นํ้าตาลโ​มเลกุลค​ ู่​เชื่อม​ต่อ​กัน​
ด้วย​พันธะโ​ค​เว​เลน​ต์ เรียกว​ ่า ไดแซ็กคาไรด์ (disaccharide) ชนิด​ที่​มี 3 โมเลกุล เรียกว​ ่า ไตรแ​ ซ็ก​คา​ไรด์
(trisaccharide) หรืออ​ าจเ​รียกร​ วมก​ ันว​ ่า โอล​ โิ​กแ​ ซ็กค​ าไ​รด์ (oligosaccharide) ซึ่งห​ มายถ​ ึง คาร์โบไฮเดรตท​ ี​่
เกิดจ​ ากม​ อโ​นแ​ ซ็กค​ าไ​รด์ 2-10 โมเลกุล เชื่อมต​ ่อก​ ันด​ ้วยพ​ ันธะ C-O-C ซึ่งเ​รียกว​ ่าพ​ ันธะไ​กลโ​คซ​ ิด​ ิก หากเ​ป็น​
คาร์โบไฮเดรตท​ ี่ม​ ี​มอโ​น​แซ็ก​คา​ไรด์ม​ ากกว่า 10 โมเลกุลข​ ึ้น​ไป เรียกว​ ่า พอ​ลิ​แซ็ก​คา​ไรด์ (polysaccharide)

       คาร์โบไฮเดรตม​ ี​สูตร​โครงสร้าง​ทางเ​คมี​คือ (CH2O)n โดย n เท่ากับจ​ ำ�นวนค​ าร์บอน​ใน​โม​เลกุ​ลนั้นๆ
เชน่ ไรโ​บส​ มส​ี ตู รท​ างเ​คมค​ี อื C5H10O5 กลโู คสม​ โ​ี ครงสรา้ งท​ างเ​คมค​ี อื C6H12O6 อยา่ งไรก​ ต็ าม สตู รท​ างเ​คมด​ี งั ​
กลา่ วอ​ าจม​ ข​ี อ้ ย​ กเวน้ ไ​ดใ​้ นก​ รณข​ี องค​ ารโ์ บไฮเดรตบ​ างช​ นดิ เชน่ ดอ​ี อกซ​ ไ​ี รโ​บสซ​ ึง่ เ​ปน็ น​ ํา้ ตาลท​ พี​่ บใ​นโ​ครงสรา้ ง​
ของก​ รด​น1ิว.1​ค	ลมี​ออิกโ​นม​แีส​ซูต็กร​ค​ทาาไ​งร​เดค์มหี​ครอืือ​นCาํ้ 5ตHาล10​โOมเ4ลเกนลุ ื่อเ​ดงจ่ียาวกเ​ค​ปา็นร​ค์โบาไรฮ์โบเดไรฮตเดช​รนติด​ทน​ี่ม​ี้เ​สี​ขีนยอ​าดอ​เกลซ็กิเจสน่ว​ไนปใ​ห1ญอ่​มะตี​จอำ�นมวน​
คาร์บอนอ​ ยูร่​ ะหว่าง 3-7 อะตอม การเ​รียกช​ ื่ออ​ าจจ​ ะเ​รียกเ​ป็นกล​ ุ่มน​ ํ้าตาลต​ ามจ​ ำ�นวนข​ องอ​ ะตอมข​ องค​ าร์บอน​
แล้วล​ งท้าย​ด้วย​โอส (-ose) เช่น ไตร​โอส (triose) เตโ​ท​รส (tetrose) เพนโ​ทส (pentose) เฮกโ​ซส (hexose)
และเ​ฮบ​โทส (heptose)

       โดยท​ ั่วไป​ในก​ ารเ​ขียน​โครงสร้างข​ องม​ อ​โน​แซ็ก​คาไ​รด์จ​ ะม​ ีก​ ารเ​ขียนแ​ บบ​เป็น​เส้นต​ รง แบบ​วง แบบ​
เก้าอี้ และ​แบบเ​รือ

       โครงสร้าง​แบบเ​ป็น​เส้น​ตรง​ที่​เรียก​ว่า โครงส​ ร้าง​แบบฟ​ ิชเ​ชอ​ร์ (Fischer projection) ทำ�ให้ส​ ามารถ​
จำ�แนกก​ ลุ่มม​ อ​โน​แซ็กค​ าไ​รด์​เป็นกล​ ุ่ม​ดี (D-) และแ​ อล (L-) โดยส​ ังเกต​หมู่ –OH ถ้าม​ อโ​น​แซ็ก​คา​ไรด์น​ ั้นม​ ี​หมู่
–OH บนค​ าร์บอนก​ ่อนส​ ุดท้ายอ​ ยู่ท​ างข​ วาม​ ือ จะเ​รียก D- นำ�ห​ น้าช​ ื่อม​ อโ​นแ​ ซ็กค​ าไ​รด์ แต่ถ​ ้า –OH บนค​ าร์บอน​

         * รวบรวมแ​ ละเ​รยี บเ​รยี งจ​ าก จ�ำ รสั พรอ้ มม​ าศ (2548) “ชวี โมเลกลุ ” ใน เอกสารการสอนชดุ วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน หนว่ ยท ี่  13​
หน้า 85-152 นนทบุรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23