Page 19 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 19
กระบวนการดำ�รงช ีวิต 2-9
ก่อนส ุดท้ายอ ยู่ท างซ ้ายม ือ จะเรียก L- นำ�ห น้าช ื่อม อโนแ ซ็กค าไรด์ ดังต ัวอย่างในภ าพท ี่ 2.1 ซึ่งแ สดงต ัวอย่าง
โครงสร้าง D- และ L- ของมอโนแซ็กค าไรด์ท ี่มีค าร์บอน 3 อะตอม และ 6 อะตอม ตามล ำ�ดับ ทั้งนี้ มอโน-
แ ซ็กค าไรด์ส่วนมากที่พบในธรรมชาติจะม ีโครงสร้างอ ยู่ในก ลุ่ม D
ภาพที่ 2.1 โครงสรา้ งแบบเป็นเส้นตรงของมอโนแซก็ ค าไ รด์
ในธ รรมชาตพิ บว า่ มอโนแ ซก็ ค าไรดส์ ว่ นใหญม่ โี ครงสรา้ งโมเลกลุ เปน็ แ บบเปน็ ว งท เี่ รยี กว า่ โครงสรา้ ง
แบบฮ าเวอรธ์ (Haworth projection) เนื่องจากเป็นโครงสร้างท ีเ่สถียรก ว่าโครงสร้างแ บบเส้นต รง โดยเฉพาะ
มอโนแ ซ็กค าไรด์ท ี่มีคาร์บอน 5 อะตอม หรือ 6 อะตอม จะเกิดเป็นว งได้ด ี การเปลี่ยนโครงสร้างแบบเส้นตรง
เป็นแ บบว งเกิดจ ากป ฎิก ิริยาร ะห ว่างห มู่อ ัลด ีไฮด์ท ี่ค าร์บอนต ำ�แหน่งที่ 1 กับห มู่ไฮด รอ กซ ิล (-OH) ที่ค าร์บอน
ตำ�แหน่งที่ 5 ในโมเลกุลเดียวกัน ตัวอย่างก ารเกิดโครงสร้างโมเลกุลแ บบวงข องก ลูโคส แสดงในภาพที่ 2.2