Page 56 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 56

5-46 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ

      หนังสือเ​รียนม​ ักจ​ ะใ​ชห้​ ลักก​ ารใ​นก​ ารนำ�​เสนอค​ ำ�​ศัพทไ์​มค่​ วรเ​กินค​ รั้งล​ ะ 12 คำ� เช่น ชุดค​ ำ�​ศัพท​์
เกี่ยวก​ ับเ​สื้อผ้าท​ ี่น​ ำ�​เสนอใ​นห​ นังสือเ​รียนร​ ะดับป​ ระถมศ​ ึกษาท​ ี่เ​ป็นท​ ี่น​ ิยมใ​นป​ ัจจุบัน ได้แก่ a jumper,
a shirt, a t-shirt, a dress, a skirt, a jacket, a suit, a tie, trousers, jeans, trainers, shoes,
และ boots แต่​อย่างไร​ก็ตาม​มี​การ​อ้าง​ถึง​ความ​ต้องการ​ใน​การ​เพิ่ม​เป้า​หมาย​ใน​การ​เรียน​รู้​คำ�​ศัพท์
โดย​เฉพาะ​จาก​กลุ่ม​ผู้​สนับสนุน​วิธี​การ​สอน​แบบ​การ​เรียน​รู้​โดย​ผู้​เรียน​ทั้งหมด (whole person
learning) เช่น accelerated learning และ​การส​ อน​แบบ​ชักชวน (suggestopedia) ซึ่ง​เป็นว​ ิธี​สอน​
ที่​พัฒนา​ขึ้น​โดย Georgi Lozanov จาก​ประเทศบ​ ัลแ​ ก​เลีย โดย​วิธีก​ าร​นี้ผ​ ู้​สอนจ​ ะใ​ช้​วิธีก​ าร​ผ่อน​คลาย
และ​การ​แนะนำ�​เพื่อ​ที่​จะ​โน้ม​น้าว​ให้​ผู้​เรียน​สามารถ​ที่​จะ​รับ​ข้อมูล​นำ�​เข้า (input) จำ�นวน​มาก​ได้ รวม​
ทั้ง​คำ�​ตามค​ วาม​หมายท​ ี่แท้​จริง​อีก​หลาย​ร้อยค​ ำ�​ใน​แต่ละ​กลุ่ม ซึ่งอ​ าจ​จะ​เป็นไ​ป​ได้ห​ าก​มีก​ ารผ​ สม​ผสาน​
หลักก​ าร​พื้นฐ​ าน​บางป​ ระการ​เกี่ยว​กับค​ วาม​จำ�​ของ​มนุษย์เ​ข้าไป​ใน​บท​เรียน

      นักศึกษาส​ ามารถ​ศึกษา ทบทวน​และอ​ ่านเ​พิ่มเ​ติมไ​ด้​ในห​ น่วย​ที่ 4 และ​หน่วย​ที่ 6
      2. 	 การจ​ ดั ​ล�ำ ดบั ใน​การน�ำ ​เสนอ  อาจจ​ ะเ​ป็นการน​ ำ�​เสนอ​ความ​หมาย​ก่อนร​ ูป​แบบ (form) หรือ​
นำ�​เสนอ​รูปแ​ บบ​ก่อนค​ วาม​หมาย เช่น การ​สอนค​ ำ�​ศัพท์ ‘shirt’ ซึ่งห​ ากใ​ช้ว​ ิธี​แรก​ ผู้​สอน​อาจ​จะ​แสดง​
ภาพเ​สื้อเ​ชิ้ต (ความห​ มาย) ก่อน แล้ว​จึง​พูด​ว่า It’s a shirt. (รูปแ​ บบ) แต่​ถ้า​เป็นการ​นำ�​เสนอร​ ูป​แบบ​
ก่อน ผู้​สอน​พูดค​ ำ�​ว่า ‘shirt’ และ ‘It’s a shirt.’ หลาย​ครั้ง แล้วใ​ห้​ผู้เ​รียน​พูดต​ าม หลังจ​ าก​นั้น​จึงช​ ี้ไ​ป​
ที่​รูปภาพ
      3. 	 วธิ ก​ี ารในก​ ารน�ำ ​เสนอ  จะน​ ำ�​เสนอค​ วามห​ มายโ​ดยว​ ิธีก​ ารใ​ด เช่น การแ​ ปลของจ​ ริง (realia)
การเ​คลื่อนไหว รูปภาพ ท่าทาง อากัป​กริยา คำ�​นิยาม สถานการณ์
      4. 	 ทักษะ​ทาง​ภาษา​ท่ี​ใช้​ใน​การนำ�​เสนอ จะ​ใช้​ภาษา​พูด หรือ​ภาษา​เขียน และ​จะ​นำ�​เสนอ​ใน​
ลำ�ดับ​ใด เช่น ใช้ภาษา​พูด​ก่อน​ภาษา​เขียน การนำ�​เสนอ​จะ​ช้า​เร็ว​อย่างไร เช่น ชะลอ​รูป​แบบ​ของ​ภาษา​
เขียนไ​ว้​ก่อน​จนกว่า​จะ​เรียนร​ ู้ภ​ าษา​พูด​ครบ​ถ้วน
      5. 	 การ​มี​ส่วน​ร่วม​ของ​ผู้​เรียน เช่น ผู้​สอน​ควร​พิจารณา​ว่า​จะ​ให้​ทั้ง​ความ​หมาย​และ​รูป​แบบ
​ด้วยต​ นเอง หรือจ​ ะน​ ำ�​เสนอค​ วามห​ มายแ​ ละใ​ห้ผ​ ู้​เรียนบ​ อก​รูปแ​ บบ หรือค​ วรจ​ ะพ​ ูด​ทบทวนร​ ูป​แบบซ​ ํ้า
หรือจ​ ะใ​ห้​เพื่อน​สอน​เพื่อน (peer teaching)
      เอ​เด​รียน ดอฟฟ์ (Doff, 1997) กล่าว​ถึง​การนำ�​เสนอ​คำ�​ศัพท์​ใหม่ใ​น​ด้าน​ต่างๆ ดังนี้

           1)	 การ​แสดง​ความ​หมาย​ของ​คำ�​ศัพท์ (Showing the Meaning of Words) อาจ​กระทำ�​
โดย​การ​ใช้​ภาพ ของ​จริง การ​แสดง​ท่าทาง การ​ยก​ตัวอย่าง การ​ใช้​เทคนิค​ต่างๆ แบบ​ผสม​ผสาน
(combining different techniques) ตาม​สภาพ​การณ์ ที่​ครู​เห็นว​ ่า​เหมาะ​สม ตัวอย่าง เช่น

               - 	 การ​ใช้​ของ​จริง ครู​สอน​คำ�​ศัพท์ clock อาจ​ใช้​วิธี​การ​ง่ายๆ คือ ให้​นักเรียน​ดู​
นาฬิกาใ​นห​ ้องเรียน แล้วค​ รู​พูด​ว่า
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61