Page 51 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 51
กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-41
ภาพท ่ี 5.2 Tired Mom Taking Care of Baby
ทม่ี า: Tired Mom Taking Care of Baby (2011)
หลงั จ ากศึกษาเน้อื หาสาระเร่ืองท่ี 5.2.1 แลว้ โปรดป ฏบิ ัติกจิ กรรม 5.2.1
ในแนวการศ กึ ษาห นว่ ยที่ 5 ตอนท ่ี 5.2 เรอ่ื งท ่ี 5.2.1
เรือ่ งท ่ี 5.2.2 การเรยี นการส อนค �ำ ศพั ท์
เทคนิควิธีจ�ำ คำ�ศัพทภ์ าษาอ ังกฤษ
ในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษมุ่งให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้ แต่ปัญหาสำ�คัญ
ประการห นึ่งค ือค วามร ูด้ ้านเนื้อหาท างภ าษาข องผ ูเ้รียน เช่น คำ�ศัพทแ์ ละไวยากรณ์ อาจจ ะม นี ้อย เพราะ
จำ�ไม่ได้ และไม่มีค วามมั่นใจในการนำ�ไปใช้
ลอยซ ์และเวล (Loyce & Weil, 1992, อ้างถึงใน กชกร ธิปัตด ี 2011 ) กล่าวถึงการใช้เทคนิค
ในก ารช ่วยจ ำ�จากผ ลส รุปข องก ารว ิจัยว ่า บุคคลท ี่ส ามารถจ ำ�สิ่งต ่างๆ ได้ด ีแ ละน าน คือผ ู้ท ี่ใช้เทคนิคใน
การช่วยจ ำ� และได้กล่าวถ ึงเทคนิคในการช่วยจำ�ว่า ประกอบด้วยเทคนิคที่ส ำ�คัญ 6 ประการ ได้แก่
1. เทคนิคการตระหนัก (awareness) คือการเอาใจใส่ในสิ่งที่ต้องการจำ�ด้วยการสังเกต
ลักษณะห รือค ุณสมบัติท ีส่ ำ�คัญข องส ิ่งท ีต่ ้องการจ ำ� ถ้าห ากบ ุคคลเกิดก ารต ระหนักในส ิ่งใดส ิ่งห นึ่งแ ล้ว
บุคคลจะจำ�สิ่งน ั้นได้ต ลอดไป
2. เทคนิคการรวมพวก (Association) คือ การนำ�เอาสิ่งที่ต้องการจำ�รวมเข้าเป็นพวกหรือ
กลุ่มเดียวกับสิ่งที่ง่ายและผู้เรียนรู้ดีอ ยู่แ ล้ว เช่นคำ�ว่า piece ซึ่งแ ปลว่า ชิ้น หรืออัน รวมก ับค ำ�ว่า pie