Page 55 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 55
กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-45
5. คำ�ที่มคี วามหมายส มั พันธก์ นั (Meaning Relationships) ตัวอย่างเช่น
- ค�ำ ทมี่ คี วามห มายเหมอื นก นั (synonyms) เชน่ little = small, large = big, clever =
smart = wise
- ค�ำ ทมี่ คี วามห มายต รงข า้ มก นั (antonyms) เชน่ rich ตรงข า้ มก บั poor, big ตรงข า้ ม
กับ small
- คำ�แปล (translation) หมายถึง คำ�ในภาษาแม่ที่มีความหมายเดียวกับคำ�ภาษา
อังกฤษ
- คำ�จ่าก ลุ่ม (hypernyms) และค �ำ ลกู ก ลุ่ม (hyponyms) เปน็ ค �ำ ทอี่ ยใู่ นก ลุม่ เดยี วกัน
มีความสัมพันธ์กัน คำ�จ่ากลุ่มเป็นคำ�กว้าง ส่วนคำ�ลูกกลุ่ม เป็นคำ�ที่มีความหมายแคบลง เช่น food
เป็นค ำ�จ่ากลุ่ม ส่วน pizza, soup, bread เป็นคำ�ลูกกลุ่ม ของ ‘food’
6. การส รา้ งค �ำ (Word Formation) เป็นความรู้เกี่ยวกับการส ร้างคำ� ประกอบด้วย คำ�หลัก
(root) คำ�เติมห น้า หรืออ ุปสรรค (prefix) และค ำ�เติมท ้าย หรือป ัจจัย (suffix)
การนำ�เสนอค�ำ ศ ัพท์
ทอร์น บอรี (2546 ) กล่าวว ่าในก ารเรียนคำ�ศัพท์ผู้เรียนจ ำ�เป็นต้องเรียนร ู้ทั้งความห มายแ ละ
รูปแบบ (form) ของคำ� ซึ่งส่วนประกอบของคำ�ทั้งสองส่วนนี้ต้องเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด ตัวอย่าง
เช่น ผู้สอนตัดสินใจจะส อนกลุ่มค ำ�ศัพท์ท ี่เกี่ยวข้องกัน เช่น คำ�ศัพท์ในก ลุ่มเสื้อผ้า shirts, trousers,
jacket, socks, dress, jeans ผู้ส อนม ีท างเลือกในการนำ�เสนอคำ�ศัพท์ด ังต ่อไปน ี้
1. จ�ำ นวนค �ำ ศพั ทท์ จ่ี ะน �ำ เสนอ ผูส้ อนจ ะน ำ�เสนอค ำ�ศัพทค์ รั้งล ะก ีค่ ำ� ควรพ ิจารณาด ้านต ่างๆ
ดังต่อไปน ี้ คือ
- ระดับข องผู้เรียนว่า เป็นระดับเริ่มต้น ระดับกลาง หรือร ะดับสูง
- แนวโน้มที่ผู้เรียนจะคุ้นเคยกับคำ�ศัพท์ เช่น อาจจะเคยเห็นคำ�เหล่านั้นมาก่อน แม้
จะไม่ใช่ส ่วนหนึ่งของค ำ�ศัพท์ท ี่ใช้บ่อย
- ความยากของคำ�ศัพท์ เช่น เป็นคำ�ที่มีความหมายเป็นนามธรรมมากกว่ารูปธรรม
หรือออกเสียงย ากหรือไม่
- คำ�ศัพท์น ั้นง ่ายต่อก ารอธิบายห รือสาธิตหรือไม่
- คำ�ศัพท์ที่จะสอนนั้นเพียงเพื่อให้ผู้เรียนรู้จัก โดยนำ�ไปใช้ในการอ่านหรือการฟัง
เท่านั้น หรือจ ะให้ผ ู้เรียนน ำ�ไปใช้ในก ารพ ูดแ ละเขียน เนื่องจากการส อนเพื่อน ำ�ไปใช้ในก ารพ ูดแ ละก าร
เขียนน ั้นจ ะต้องใช้เวลาม ากกว่าแต่จำ�นวนค ำ�ศัพท์จะน ้อยก ว่าการสอนเพียงเพื่อให้ผ ู้เรียนรู้
- จำ�นวนคำ�ศัพท์ใหม่ที่จะนำ�เสนอแต่ละครั้งไม่ควรจะมากเกินกว่าที่ผู้เรียนจะจำ�ได้
รวมท ั้งไม่ควรจ ะมากเกินไปจ นผู้เรียนไม่มีเวลาที่จ ะฝึกใช้