Page 52 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 52
5-42 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
ที่แปลว่าขนมพาย ซึ่งเป็นท ี่คุ้ยเคยสำ�หรับน ักเรียนด ีอยู่แล้วด้วยการรวมทั้งสองส ิ่งเข้าด้วยกันว่าเป็น
ขนมพ าย 1 ชิ้น (a piece of pie) โดยส ังเกตว ่าตัวอ ักษร 3 ตัวแรกข องค ำ�ว่า piece สะกดเหมือน pie.
3. เทคนคิ การเชอ่ื มโยง (Link System) คือการโยงความคิดหรือสิ่งของสองอย่างเข้าด ้วยกัน
โดยใหค้ วามค ดิ ห รือส ิง่ ของส ิง่ แ รกซ ึง่ ผ ูเ้รียนค ุน้ เคยอ ยแู่ ล้ว เป็นก ลไกไขไปส ูค่ �ำ ตอบท ีต่ อ้ งการ ตวั อย่าง
เช่น การเชื่อมโยงเพื่อให้จำ�ได้ว่าประธานาธิบดี Lincoln เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 (sixteenth)
ของป ระเทศส หรัฐอเมริกาด้วยก ารโยงว ่า ทั้งส องค ำ�เป็นค ำ�สองพยางค์ และพ ยางค์แ รกข องทั้งสองคำ�
ออกเสียงสระ “อิ” เหมือนกัน
4. เทคนิคการรวมพวกให้ตลกสนุกสนาน (Ridiculous Association) คือการจัดกลุ่มหรือ
ร วมพ วกส ิ่งท ี่ต ้องการจ ำ�ให้ต ลกส นุกสนาน หรือแ ปลกป ระหลาดโดยไม่ต ้องค ำ�นึงถ ึงค วามถ ูกต ้องห รือ
หลักค วามจ ริง หรือก ฎเกณฑใ์ดๆ เช่น การร วมพ วกด ้วยก ารส ร้างค ำ�หรือป ระโยคให้ส ิ่งท ี่ไม่มชี ีวิต หรือ
เครื่องใช้ต่างๆ แสดงกริยาอ าการแ ปลกๆ ได้ เป็นต้น
5. เทคนิคการใชร้ ะบบค�ำ เทียบแทน (Substitute-Word System) คือ การใช้อักษร คำ� เสียง
หรือส ิ่งที่ผู้เรียนรู้จักเป็นอ ย่างดีอ ยู่แล้ว มาแทนที่ส ิ่งใหม่ห รือสิ่งท ี่ต ้องการจ ำ� ซึ่งการเทียบแทนที่สร้าง
ขึ้นนั้นอาจเป็นร ูปธ รรม นามธรรม หรือเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดภาพ หรือ
มองเห็นบันไดก้าวไปส ู่ก ารจ ำ�ได้
6. เทคนคิ ก ารใช้คำ�สำ�คญั (Key Word) คือ การใช้คำ� หรืออ ักษรสั้นๆ เพื่อเป็นต ัวแทนข อง
ประโยคที่ย าวๆ หรือค วามคิด หรือส ิ่งที่มีองค์ประกอบหลายอย่าง ซึ่งจ ะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจำ�สิ่ง
ที่ต้องการจ ำ�ได้ง่ายขึ้น โดยทั่วไปแล้วคำ�สำ�คัญที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมจะช่วยให้เกิดการจำ�ได้ดีกว่า
ซึ่งข ั้นต อนการส อนโดยใช้เทคนิคช่วยจ ำ�ประกอบด ้วยขั้นต อนสำ�คัญ 4 ขั้นตอน ได้แก่
6.1 สร้างค วามสนใจในส ่ิงท่ีเรียน (Attending to the Material) โดยผู้สอนน ำ�ผู้เรียนเข้า
สู่ส ิ่งต้องการเรียนด ้วยก ารข ีดเส้นใต้ จดส าระส ำ�คัญ หรือถ ามเพื่อส ะท้อนให้ผ ู้เรียนเกิดค วามส นใจใน
คำ� ประโยค เรื่อง หรือสาระสำ�คัญข องส ิ่งนั้น
6.2 พัฒนาความสัมพันธ์ (Developing Connection) โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เข้าใจ
คุ้นเคย และส ร้างส าระส ำ�คัญข องส ิ่งท ีต่ ้องการจ ำ�นั้นเป็นผ ลผลิตข ึ้นม าด ้วยก ารใชเ้ทค นิคใดๆ ดังก ล่าว
ข้างต้น
6.3 ขยายหรอื สรา้ งภ าพล กั ษณข์ องส าระส �ำ คญั ท ่ีสรา้ งขนึ้ เพ่ือก ารจ �ำ ใหเ้ กดิ ความช ัดเจน
(Expanding Sensory Images) โดยก ารช่วยให้ผู้เรียนป รับ เสริม เติม แต่ง สาระสำ�คัญของส ิ่งท ี่สร้าง
ขึ้นให้ม ีค วามช ัดเจนและง ่ายต ่อก ารจ ดจำ�
6.4 ฝึกฝนก ารจ �ำ (Practicing Recall) โดยการเปิดโอกาสให้ผ ู้เรียนได้ท ดลองใช้เทคนิค
ช่วยจำ�ที่ตนพัฒนาขึ้นจ นเกิดค วามเคยชิน และส ามารถใช้ได้อ ย่างส มบูรณ์