Page 54 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 54

5-44 สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ

สิ่งท​ ต่ี​ ้องพ​ จิ ารณา​ในก​ าร​จดั การเ​รยี น​การ​สอน​ค�ำ ​ศัพท์

      เออร์ (Ur, 1996) กล่าว​ถึง​สิ่ง​ที่​จำ�เป็น​ต้อง​พิจารณา​ใน​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​คำ�​ศัพท์ไว้
6 ประการ ได้แก่

      1. 	 รูป​แบบ​ด้าน​การ​ออก​เสียง​และ​การ​สะกด​คำ� (Form: pronunciation and spelling)
ผู้เ​รียนจ​ ำ�เป็น​ต้องอ​ อก​เสียงแ​ ละ​สะกด​คำ�​ได้ถ​ ูกต​ ้อง

      2. 	 ไวยากรณ์   ค�ำ ​บางค​ �ำ ​ไมไ​่ ดเ​้ ปลีย่ นต​ ามก​ ฎเ​กณฑไ​์ วยากรณ์ ค�ำ ​บางค​ �ำ ​อาจม​ ก​ี ารเ​ปลีย่ นแปลง​
เมื่ออ​ ยูใ่​นบ​ ริบทบ​ างบ​ ริบท หรือเ​มื่อใ​ช้ร​ วมก​ ับค​ ำ�​อื่นๆ ในป​ ระโยค จึงต​ ้องม​ กี​ ารส​ อน ฝึกฝนแ​ ละท​ บทวน​
รูป​แบบข​ องค​ ำ�​ต่างๆ ด้วย ตัวอย่างเ​ช่น

           - 	 คำ�​กริยา​ช่องท​ ี่ 2 (past simple) และ​คำ�​กริยาช​ ่องท​ ี่ 3 (past participle) บางค​ ำ�​ไม​่
เติม –ed เช่น put–put–put; think–thought–thought; come–came–come

           - 	 คำ�​กริยาบ​ างค​ ำ�เป็น อกรรมกริยา (intransitive verb) เช่น go, arrive, travel
           - 	 บางค​ ำ�​เป็น​สกรร​ ม​กริยา (transitive verb)
           - 	 คำ�​กริยาบ​ างค​ ำ�เป็นท​ ั้งส​ กรร​ ม​กริยา​และอ​ กรรมกริยา เช่น run, cook, repair
           - 	 คำ�​นาม​เอกพจน์​บาง​คำ�​เมื่อ​เปลี่ยน​เป็น​พหูพจน์​ไม่​เติม S ดัง​เช่น​คำ�​นาม​ทั่วไป เช่น
man–men, mouse–mice, woman–women
           - 	 คำ�​บางค​ ำ�เป็น​ได้ท​ ั้ง​คำ�​นาม​และค​ ำ�​กริยา เช่น water, cook, thought, light
      3. 	 ค�ำ ​ปรากฏร​ ว่ ม (Collocation)   หมายถ​ ึง การเ​ชือ่ มค​ �ำ  กลุม่ ค​ �ำ  รวมท​ ัง้ ส​ �ำ นวนต​ ่างๆ (idioms)
ที่จ​ ำ�เป็นต​ ้องใ​ช้ร​ ่วมก​ ันใ​นป​ ระโยคต​ าม ที่เ​จ้าของภ​ าษาน​ ิยมใ​ช้ และเ​ห็นว​ ่าถ​ ูกต​ ้องต​ ามม​ าตรฐาน ซึ่งค​ ำ�​ที​่
ใช้​ร่วม​กัน​นั้น​จะ​ใช้​คำ�​อื่น​แทน หรือ​สลับ​ตำ�แหน่ง​กัน​ไม่​ได้ ถึง​แม้ว่า​คำ�​ที่​จะ​ใช้​แทน​จะ​มี​ความ​หมาย​
เหมือนก​ ัน หรือใ​กล้​เคียง​กัน​ก็ตาม เช่น tall man, high cake, cool tempered (คนใ​จเย็น), cold
hearted (คนใ​จร้าย), fast colour (สีไ​ม่​ตก)
      4. 	 ความ​หมายข​ อง​คำ�​ศพั ท์​ด้าน​ตา่ งๆ (Aspects of Meaning) ได้แก่
           - 	 ความห​ มายโ​ดยตรง (denotation) เป็นค​ วามห​ มายต​ าม​พจนานุกรม หรือค​ วาม​หมาย​
ตรงต​ าม​ที่​เห็นจ​ าก​ภาพ ซึ่ง​เป็น​ความ​หมายท​ ั่วไป เช่น heart แปลว​ ่า หัวใจ blue แปลว​ ่าส​ ี​ฟ้า
           - 	 ความ​หมาย​โดย​นัย (connotation) เป็นการ​สื่อ​ความ​หมาย​ที่​เกี่ยว​เนื่องจาก​ปริ​บท
จาก​ภาพ​ที่​เห็น เป็น​ความ​หมาย​ที่​ซ่อน​เร้น​อยู่​ใน​คำ�​นั้น ใน​รูปภาพ​นั้น หรือ​ใน​บริบท​นั้น ซึ่ง​เป็น​ความ​
หมายท​ ีม่​ นุษยป์​ รุงแ​ ต่งข​ ึ้นม​ าจ​ ากป​ ระสบการณข์​ องผ​ ูพ้​ ูดแ​ ละผ​ ูเ้​ขียนแ​ ล้วถ​ ่ายทอดอ​ อกม​ าเ​ป็นภ​ าษาแ​ ละ​
ความห​ มาย​โดย​นัย​ของ​ภาพ​ นั้นๆ เช่น เมื่อ​เห็น​ภาพ​หัวใจ​สี​แดง​ก็​อาจส​ ื่อ​ความถ​ ึง​ความร​ ัก
           - 	 ความ​เหมาะ​สม (appropriateness) หมาย​ถึง ​ความ​เหมาะ​สมใน​การ​ใช้​ภาษา​ใน​
สถานการณ์​ต่างๆ ตาม​บริบทท​ าง​สังคม เช่น ​การ​พูด​อย่างเ​ป็นท​ างการ (formal) อย่าง​ไม่​เป็นท​ างการ
(informal)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59