Page 24 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 24
2-14
เรื่องท่ี 2.2.1 ความรู้สกึ เชิงปริภูมิคืออะไร
สาระสังเขป
1. ความห มายข องค วามรู้สกึ เชงิ ป รภิ มู ิ
คำ�ว ่า “ความรู้สึกเชิงป ริภูมิ” มาจากคำ�ว ่า Spatial sense ในภ าษาอ ังกฤษ
Spatial มาจ ากค ำ�ว ่า space หรือ “ปริภูมิ” หมายถ ึง สิ่งต ่างๆ รวมท ั้งอ าณาบ ริเวณซ ึ่งท ุกส ิ่งท ุกอ ย่าง
ดำ�รงอ ยู่ เคลื่อนไหว และเคลื่อนที่ หรืออีกน ัยหนึ่งม ิติที่เราอาศัยอ ยู่
Sense เป็นความรู้สึกที่เรารับรู้ผ่านทางประสาททั้งห้า ซึ่งได้แก่ การมองเห็น การได้ยิน การรับรู้
กลิ่น การรับรู้รส และการสัมผัส ประกอบกับความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งอันจะนำ�ไปสู่การตัดสินใจที่
สมเหตุส มผ ล
ความร ู้สึกเชิงปริภูมิ จึงเป็นความสามารถของบุคคลในการรับร ู้แ ละเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวก ับมิติที่
เราอ าศัยอยู่
ได้มีความพยายามที่จะให้คำ�จำ�กัดความของความรู้สึกเชิงปริภูมิไว้ต่างๆ กัน และยังไม่ได้ตกลง
กันอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับคำ�จำ�กัดความที่ตรงกันของคำ�ว่าความรู้สึกเชิงปริภูมิ นอกจากนี้ยังมีการใช้คำ�
ที่ห ลากห ลายเรียกความรู้สึกเชิงปริภูมิ นอกเหนือไปจาก spatial sense เช่น “spatial ability” “spatial
reasoning” “spatial perception” “spatial visualization” “spatial insight”
อาจกล่าวได้ว่าความรู้สึกเชิงปริภูมิเป็นความสามารถในการรับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับขนาด รูปร่าง
ตำ�แหน่งท ิศทาง ระยะท างแ ละความส ัมพันธ์ของร ูปและสิ่งต ่างๆ (สสวท. 2546: 2)
2. คนที่มีค วามรสู้ กึ เชงิ ปริภูมคิ วรจะมีทักษะห รอื ความสามารถอ ะไรบ้าง
NCTM (1996: 1) กล่าวถ ึงทักษะหรือค วามส ามารถเชิงปริภูมิท ี่น ักเรียนควรจ ะต ้องม ี ได้แก่
1) การประสานระหว่างสายตากับก ารเคลื่อนไหว (Eye-motor coordination) เป็นค วามส ามารถ
ในก ารประสานงานระหว่างส ายตากับส ่วนอื่นๆ ของร ่างกายในก ารป ฏิบัติกิจกรรมต ่างๆ
2) การจ ำ�แนกภ าพอ อกจ ากพ ื้นห ลัง (Figure – ground perception) เป็นการใช้ส ายตาจ ำ�แนกภ าพ
ออกจ ากพ ื้นหลังที่ซ ับซ้อน
3) ความคงตัวในการรับรู้รูปร่างหรือขนาด (perceptual constancy) เป็นความสามารถในการ
จดจำ�รูปร่างหรือขนาดของรูปและวัตถุไม่ว่ารูปหรือวัตถุนั้นจะวางอยู่ ณ ตำ�แหน่งใด หรือมีทิศทางการวาง
อย่างไร
4) การรับรู้เกี่ยวก ับตำ�แหน่งในปริภูมิ (position – in – space perception) เป็นความสามารถใน
การบ อกตำ�แหน่งของวัตถุโดยอ้างอิงกับตนเอง