Page 25 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 25
2-15
5) การรับร ู้เกี่ยวกับความส ัมพันธ์ข องส ิ่งต ่างๆ ในป ริภูมิ (perception of spatial relationship)
เป็นค วามส ามารถในก ารม องเห็นค วามส ัมพันธข์ องส ิ่งต ่างๆ รอบต ัว รวมถ ึงก ารม องเห็นค วามส ัมพันธร์ ะหว่าง
สิ่งร อบตัวกับตนเอง
6) การจ ำ�แนกโดยใชส้ ายตา (visual discrimination) เป็นค วามส ามารถในก ารจ ำ�แนกค วามค ล้าย
และความแตกต่างของสิ่งต่างๆ โดยไม่ขึ้นอ ยู่กับต ำ�แหน่ง
7) ความท รงจำ�เกี่ยวก ับสิ่งที่ได้เห็น (visual memory) เป็นค วามส ามารถในก ารจ ดจำ�เกี่ยวกับสิ่ง
ที่เคยเห็นแ ต่ไม่ได้อ ยู่ตรงหน้า ณ ขณะนั้น
(โปรดอ ่านเน้ือหาสาระโดยละเอยี ดในประมวลส าระชดุ วชิ าหนว่ ยที่ 2 ตอนท ่ี 2.2 เรอ่ื งท่ี 2.2.1)
กจิ กรรม 2.2.1
1. “ความรู้สึกเชิงปริภูมิเป็นความสามารถที่ติดตัวมาโดยกำ�เนิด บางคนเกิดมาโดยมี
ความร ู้สึกเชิงปริภูมิ ในขณะท ี่บางค นเกิดมาโดยไม่มีค วามรู้สึกเชิงปริภูมิ และไม่สามารถพัฒนาค วาม
รู้สึกเชิงปริภูมิให้เกิดขึ้นได้” ท่านม ีความคิดเห็นอ ย่างไรเกี่ยวกับข้อความนี้ จงแ สดงเหตุผล
2. จงย กต ัวอย่างก ิจกรรมในช ีวิตประจำ�ว ันที่ต ้องใช้ความรู้สึกเชิงป ริภูมิม า 2 ตัวอย่าง
บันทึกค �ำ ตอบกจิ กรรม 2.2.1
(โปรดต รวจค �ำ ต อบจากแนวตอบในแนวการศกึ ษาหน่วยท่ี 2 ตอนท่ี 2.2 กจิ กรรม 2.2.1)