Page 29 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 29
2-19
แนวต อบกิจกรรมห น่วยท ่ี 2
การพฒั นาค วามร ้สู ึกเชงิ จ �ำ นวนและค วามรู้สกึ เชิงป รภิ มู ิ
ตอนท ่ี 2.1 การพ ฒั นาค วามรู้สึกเชงิ จ�ำ นวน
แนวตอบกจิ กรรม 2.1.1
คำ�ตอบม ีได้หลากห ลาย ขึ้นอ ยู่ก ับป ระสบการณ์ข องแ ต่ละบ ุคคล
1. พิจารณาตัวอย่างก ารค ำ�นวณด ้วยความร ู้สึกเชิงจำ�นวนต่อไปน ี้
9997 + 2784 = (9997 + 3) + (2784 — 3)
74 — 36 = 74 — (34 + 2)
46 × 5 = (46 × 10) ÷ 2
38 + 27 = 38 + (2 + 25)
28 + 14 + 12 = (28 + 12) + 14
77 — 24 = 77 — (21 + 3)
124 × 25 = (124 × 100) ÷ 4
81 + 82 + 83 + 84 + 85 = (80 × 5) + (1 + 2 + 3 + 4 + 5)
จากตัวอย่างจ ะเห็นว ่า คนท ี่ม ีท ักษะการค ิดคำ�นวณทั่วไปและคนท ี่ใช้ค วามรู้สึกเชิงจำ�นวน สามารถ
คำ�นวณผลลัพธ์ได้ถูกต้องเหมือนกัน แต่คนที่ใช้ความรู้สึกเชิงจำ�นวน แสดงออกให้เห็นว่าเขาเข้าใจลึกซึ้ง
เกีย่ วก บั จ ำ�นวนอ ย่างช ัดเจน ในข ณะท คี่ นท คี่ ำ�นวณต ามข ั้นต อนว ธิ อี าจไมเ่ ข้าใจส ิ่งท ตี่ นเองท ำ�อ ย่างแ ทจ้ ริงก ็ได้
ผลลัพธ์จ ากก ารคำ�นวณโดยใช้ค วามรู้สึกเชิงจ ำ�นวนด ูจ ะม ีป ระสิทธิภาพกว่า เป็นวิธีคิดที่ช าญฉ ลาดก ว่า
2. ตัวอย่างกิจกรรมในช ีวิตป ระจำ�ว ันข องบ ุคคลอ าชีพต่างๆ ที่ต้องอาศัยความรู้สึกเชิงจ ำ�นวน เช่น
- แม่ค้าที่ต้องท อนเงิน
- การประมาณราคาสินค้า หรือค ่าอาหารก ่อนจ ่ายเงิน
- การป ระมาณร ะยะทางที่ร ถว ิ่งต่อไปได้ เพื่อวางแผนการเติมเชื้อเพลิง
- การประมาณจำ�นวนข องสิ่งของต ่างๆ ที่ต้องจัดเตรียมให้พอดี ไม่น ้อยหรือไม่ม ากเกินไป
- นักบ ัญชีท ี่ต ้องค อยต รวจส อบต ัวเลขให้ถ ูกต ้อง คนท ี่ม ีค วามร ู้สึกเชิงจ ำ�นวนจ ะจ ับผิดได้ไว
คำ�ตอบม ีได้หลากหลายนอกเหนือไปจ ากท ี่กล่าวมาน ี้