Page 27 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 27

2-17

เร่อื งท​ ่ี 2.2.3 	ตวั บ​ ่งช​ ใี​้ นก​ าร​ประเมนิ ผ​ ล​ด้านค​ วาม​รู้สึกเ​ชิงป​ ริภูมิ

สาระส​ ังเขป

       การป​ ระเมินผ​ ลท​ างด​ ้านค​ วามร​ ู้สึกเ​ชิงป​ ริภูมอิ​ าจอ​ าศัยท​ ักษะ 7 ประการต​ ่อไ​ปน​ ีเ้​ป็นต​ ัวบ​ ่งช​ ีค้​ วามร​ ู้สึก​
เ​ชิง​ปริภูมิ

       (1) 	การ​ประสาน​ระหว่าง​สายตาก​ ับก​ าร​เคลื่อนไหว (Eye-motor coordination)
       (2) 	การจ​ ำ�แนกภ​ าพ​ออกจ​ าก​พื้น​หลัง (Figure–ground perception)
       (3) 	ความค​ งตัว​ในก​ าร​รับร​ ู้​รูป​ร่างห​ รือข​ นาด (perceptual constancy)
       (4) 	การร​ ับ​รู้เ​กี่ยวก​ ับต​ ำ�แหน่งใ​น​ปริภูมิ (position–in–space perception)
       (5) 	การร​ ับร​ ู้เ​กี่ยว​กับค​ วามส​ ัมพันธ์ข​ องส​ ิ่ง​ต่างๆ ใน​ปริภูมิ (perception of spatial relationship)
       (6) 	การจ​ ำ�แนกโ​ดย​ใช้ส​ ายตา (visual discrimination)
       (7) 	ความ​ทรงจ​ ำ�​เกี่ยวก​ ับส​ ิ่งท​ ี่​ได้เ​ห็น (visual memory)
       การป​ ระเมนิ ผ​ ลท​ างด​ า้ นค​ วามร​ ูส้ กึ เ​ชงิ ป​ รภิ มู ไ​ิ มค​่ วรม​ ุง่ เ​นน้ ไ​ปท​ กี​่ ารท​ �ำ แ​ บบท​ ดสอบแ​ ตเ​่ พยี งอยา่ งเ​ดยี ว
ครคู​ วรป​ ระเมินผ​ ลโ​ดยก​ ารส​ ังเกตพ​ ฤตกิ รรมข​ องน​ ักเรยี นร​ ะหวา่ งป​ ฏิบตั กิ​ ิจกรรมใ​นช​ ัน้ เ​รียนเ​พือ่ น​ ำ�ข​ ้อมูลท​ ีไ่​ด​้
มา​ใช้​ใน​การป​ รับปรุง​แก้ไข​ข้อบ​ กพร่อง​ต่างๆ หรือค​ วาม​เข้าใจ​คลาด​เคลื่อนที่​เกิด​ขึ้นก​ ับ​นักเรียน

     (โปรด​อ่าน​เน้ือหา​สาระโ​ดยล​ ะเอยี ด​ในป​ ระมวล​สาระช​ ดุ ​วิชา​หนว่ ย​ที่ 2 ตอน​ที่ 2.2 เรอ่ื ง​ท่ี 2.2.3)

  กจิ กรรม 2.2.3
         กิจกรรมต​ ่างๆ ที่ค​ รูใ​ห้น​ ักเรียนท​ ำ�ใ​นห​ ้องเรียน ในโ​รงเรียน หรือท​ ี่บ​ ้าน อาจเ​ป็นก​ ิจกรรมท​ ี่ช​ ่วย​

  พัฒนาค​ วามร​ ู้สึกเ​ชิงป​ ริภูมิ​อยู่​แล้ว แต่ไ​ม่มีใ​คร​เคยน​ ึกถึงใ​นร​ ายล​ ะเอียด ให้ย​ ก​ตัวอย่าง​กิจกรรมต​ ่างๆ
  เหล่าน​ ี้ พร้อม​ทั้งร​ ะบุว​ ่าก​ ิจกรรมน​ ั้น​สอดคล้องก​ ับ​ทักษะ 7 ประการ​ข้อ​ใดบ้าง

บนั ทกึ ค​ ำ�​ตอบ​กิจกรรม 2.2.3
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32