Page 26 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 26
2-16
เร่อื งท ่ี 2.2.2 การจดั กจิ กรรมเพ่อื พ ัฒนาความร้สู ึกเชงิ ปรภิ ูมิ
สาระสงั เขป
ความรู้สึกเชิงปริภูมิเป็นทักษะที่เป็นพื้นฐานสำ�คัญของการศึกษาเรขาคณิต อีกทั้งยังเป็นทักษะที่
จำ�เป็นส ำ�หรับการป ฏิสัมพันธ์ก ับสิ่งแ วดล้อมในชีวิตป ระจำ�วัน หลักสูตรค ณิตศาสตร์ร ะดับโรงเรียนในน านา
ประเทศจ งึ ไดร้ วม “ความร ูส้ กึ เชงิ ป รภิ มู ”ิ ไวใ้ นส ว่ นห นึง่ ข องห ลกั สตู ร ส�ำ หรบั ห ลกั สตู รค ณติ ศาสตรข์ องไทย ได้
รวมค วามร ู้สึกเชิงป ริภูมิไว้ในห ลักสูตรก ารศ ึกษาข ั้นพ ื้นฐ านพ ุทธศักราช 2544 และในห ลักสูตรแ กนก ลางก าร
ศกึ ษาข ั้นพ ื้นฐ าน พทุ ธศักราช 2551 โดยไดก้ ล่าวถ งึ ค วามร ู้สึกเชงิ ป ริภูมไิ วใ้ นส าระเรขาคณิต มาตรฐาน 3.2 “ใช้
การน ึกภ าพ (visualization) ใชเ้หตุผลเกี่ยวก ับป ริภูมิ (spatial reasoning) และใชแ้ บบจ ำ�ลองท างเรขาคณิต
(geometric model) ในก ารแ กป้ ัญหา” ทั้งนี้ โดยต ั้งอ ยูบ่ นพ ื้นฐ านท ีว่ ่าค วามร ู้สึกเชิงป ริภูมเิป็นท ักษะท ีจ่ ำ�เป็น
สำ�หรับกิจกรรมในช ีวิตประจำ�ว ัน และเป็นเครื่องม ือส ำ�หรับการเรียนรู้คณิตศาสตร์แ ละศ าสตร์อื่นๆ
(โปรดอ่านเนอื้ หาส าระโดยล ะเอยี ดในป ระมวลสาระชดุ ว ิชาห นว่ ยท่ี 2 ตอนท ี่ 2.1 เร่ืองท่ี 2.2.2)
กิจกรรม 2.2.2
จงออกแบบกิจกรรมเพื่อช่วยพัฒนาความรู้สึกเชิงปริภูมิ โดยระบุระดับชั้นของนักเรียน
วิธีป ฏิบัติก ิจกรรม กิจกรรมน ี้ส ร้างค วามค ิดร วบย อดท างเรขาคณิตห รือฝ ึกท ักษะท างเรขาคณิตเรื่องใด
และพื้นความร ู้เดิมท ี่ต ้องมีก ่อนท ำ�กิจกรรมน ี้คือเรื่องใด
บันทึกค�ำ ตอบกิจกรรม 2.2.2
(โปรดต รวจค�ำ ตอบจากแนวตอบในแ นวการศ กึ ษาห นว่ ยท ี่ 2 ตอนท ่ี 2.2 กิจกรรม 2.2.2)