Page 47 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 47
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาระเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับมัธยมศึกษา 11-37
ประเดน็ แนวทางดำ� เนินการ
1. การวัดและประเมินผลความรู้ แนวทางที่ 1 การวัดและประเมินผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และ
ความเข้าใจ เป็นการวัดด้านพุทธิ หลังการเรียนระดับผู้สอนสามารถจัดท�ำแบบทดสอบให้ผู้เรียนได้วัด
พิสัยของผู้เรียน ซึ่งเป็นการวัด ระดับความรู้และประสบการณ์เดิมเพื่อจะได้รับทราบว่าผู้เรียนแต่ละคน
และประเมนิ ผลเกย่ี วกบั คณุ ภาพ มีความรู้และประสบการณ์เดิมมากน้อยเพียงไร เมื่อผ่านการเรียนรู้ใน
ของผู้เรียนในด้านความรู้ความ เบ้ืองต้นควรมีแบบฝึกหัดเพื่อวัดระดับความสามารถในการรับรู้และ
เข้าใจสาระเนื้อหา ความเข้าใจของผู้เรียนว่ามีส่วนใดบ้างท่ียังขาดตกบกพร่องและผู้เรียน
ต้องเติมเต็มหรือได้รับความช่วยเหลือจากผู้สอนเป็นรายบุคคล จากน้ัน
อาจมกี ารทดสอบในภาพรวมหลงั จากการเรยี นรหู้ ลากหลายสาระงานผา่ น
ไปมีการสอบเพ่ือวัดระดับความคงทนของความรู้ความเข้าใจน้ันเพื่อน�ำ
มาเปน็ ขอ้ มลู ในการชว่ ยเหลอื นกั เรยี นหรอื ปรบั ปรงุ การออกแบบวางแผน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จะเห็นได้ว่า การวัดและประเมินผลผู้เรียน
เป็นสิ่งที่สะท้อนเร่ืองราวในส่วนการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนและเป็นการ
สะท้อนคุณภาพและประสิทธิภาพกิจกรรมการเรียนรู้นั้น ๆ ส่วนหนึ่ง
การวัดและประเมินผลลักษณะน้ียังสามารถท�ำได้ด้วยวิธีการสัมภาษณ์
การพดู คยุ กไ็ ดแ้ ตค่ วรมกี ารวดั และประเมนิ ทช่ี ดั เจนเปน็ หลกั ฐานสามารถ
น�ำข้อมูลมาประมวลผลได้
แนวทางที่ 2 การท�ำรายงาน โครงงาน การสืบค้นข้อมูล เม่ือมอบ
หมายให้ผู้เรียนไปสืบค้นข้อมูลใดก็ตามควรจัดให้มีการน�ำเสนอรายงาน
หรอื ขอ้ มลู นน้ั ๆ และอาจมกี ารทดสอบดว้ ยการตง้ั คำ� ถามจากสาระเนอ้ื หา
เหล่านั้น เพ่ือวัดระดับความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ผู้สอนเองต้องมี
ความรู้ความเข้าใจเพียงพอว่า โดยแท้จริงแล้วผู้เรียนอาจไม่เข้าใจในสิ่ง
ท่ีค้นคว้ามาเลยก็ได้ เพราะไม่ได้ท�ำเองหรือท�ำแต่ไม่ได้เรียนรู้ไปกับการ
ทำ� รายงานนัน้ ๆ ผ้สู อนตอ้ งเปน็ ผ้ทู ่ีต้องทำ� ความเข้าใจก่อนวา่ รายงานกบั
โครงงานจะมคี วามหมายและมคี ณุ คา่ ผสู้ อนจะตอ้ งคอยใหค้ ำ� แนะนำ� และ
อย่าปล่อยละเลยให้ผู้เรียนท�ำตามล�ำพังเพียงเพื่อมีปริมาณผลงานวัด
ระดับความรู้ความสามารถของผู้สอนการทดสอบหรือการท�ำรายงาน
โครงงานใด ๆ สามารถเก็บรวบรวมใส่แฟ้มผลงานส�ำหรับผู้เรียน เพื่อมา
เรียกดูภายหลังเพื่อประมวลผลระดับความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนเป็น
ส�ำคัญ