Page 48 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ
P. 48

11-38 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิชาอาชีพ

ตาราง (ต่อ)

          ประเด็น                                    แนวทางด�ำเนนิ การ
2.	การวัดและประเมินผลทักษะ         แนวทางท่ี 1 การสังเกตขณะผู้เรียนลงมือท�ำงาน ควรสังเกตผู้เรียน
                                 ว่าสามารถท�ำได้ ต้องการความช่วยเหลือหรือค�ำแนะน�ำมากน้อยเพียงไร
  กระบวนการท�ำงาน เป็นการวัด     มที กั ษะการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ หรอื ไม่ ทกั ษะยอ่ ย ๆ ทเ่ี รยี นรสู้ ามารถ
  ในเร่ืองทักษะพิสัยของผู้เรียน  ท�ำได้ทุกทักษะหรือไม่ เช่น การผูกเชือก การปะติดกระดาษ การตัด
  การวัดและประเมินผลทักษะ        การพับ ซ่ึงผู้สอนควรมีการออกแบบใบประเมินผลทักษะประกอบ
  กระบวนการท�ำงาน                กจิ กรรมการเรยี นรนู้ นั้  ๆ เพอ่ื บนั ทกึ ผลผเู้ รยี นขณะทำ� งานอยา่ งมหี ลกั การ
                                 และชัดเจนในแต่ละข้อสังเกต เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้เรียนได้
                                    แนวทางท่ี 2 การเขยี นใบงาน กอ่ นทำ� งานเพอื่ การวางแผนการทำ� งาน
                                 ระหว่างท�ำงานเพื่อบันทึกผลขณะท�ำงาน และหลังท�ำงานเพื่อรวบรวม
                                 ความคิดสรุปกระบวนการท�ำงานเสร็จขน้ึ อยกู่ บั ผสู้ อนเป็นผู้วางการเขยี น
                                 ใบงานส�ำหรับงานน้ัน ๆ ตรงจุดใด เพ่ือเหตุผลใด เพราะการเขียนใบงาน
                                 เป็นส่ิงท่ีสะท้อนภาพความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการ
                                 ออกแบบ ความสามารถในการล�ำดับกระบวนการท�ำงาน ความสามารถ
                                 ในการเช่ือมโยงองค์ความรู้ ความสามารถในการสังเกตและวิธีการแก้
                                 ปญั หา ความสามารถในการคน้ พบแนวทางใหม ่ ๆ หรอื การนำ� ไปประยกุ ต์
                                 ใช้ในงานอื่น ๆ ของผู้เรียนแต่ผู้สอนเม่ือได้ท�ำการตรวจสอบแล้วควรน�ำ
                                 ข้อมูลน้ันมาใช้ในการให้ค�ำแนะน�ำหรือเพ่ิมเติมในส่วนท่ีขาดหายไป หาก
                                 พบประเด็นท่นี ่าสนใจ ควรมีการสัมภาษณ์ผเู้ รียนเพอ่ื หาความกระจา่ งใน
                                 แนวคิดของผู้เรียนประกอบไปด้วย
                                    แนวทางที่ 3 ผลงานของผู้เรียนเป็นสิ่งท่ีได้ผ่านกระบวนการผลิต
                                 ลงมือท�ำด้วยผู้เรียน จึงมีความหมายเป็นอย่างมาก ผลงานเป็นหลักฐาน
                                 ส�ำคัญที่ทิ้งร่องรอยการท�ำงานกว่าจะมาเป็นผลงานช้ินหนึ่ง เราจะเห็นผล
                                 ของการท�ำงานแต่ละทักษะ ไม่ว่าจะเป็นการตัด การปะติด การปรุงหรือ
                                 การจัดส่วนผสมวัสดุอปุ กรณ์ทลี่ งตัวอยา่ งพอเหมาะ ความคดิ สรา้ งสรรค์
                                 ความน่าสนใจแปลกใหม่ ความประณีตเรียบร้อยสะอาดตา การให้
                                 คะแนนผลงาน ควรมีหัวข้อท่ีต้องการประเมินผลอย่างชัดเจน เพื่อใช้ใน
                                 การปรับปรุงผลงานโดยการให้ค�ำแนะน�ำผู้เรียนได้
                                    แนวทางที่ 4 การท�ำโครงงาน ซึ่งเป็นการประเมินผลในภาพรวมของ
                                 ผู้เรียนในทุกองค์ประกอบผู้สอนควรให้ความดูแลเอาใจใส่ผู้เรียนในการ
                                 ทำ� โครงงานโดยการตดิ ตามเปน็ ระยะ มกี ารตรวจสอบทกุ ระยะทกุ ขน้ั ตอน
                                 และให้ค�ำแนะน�ำหรือกระตุ้นเป็นระยะ เพ่ือดูผลสัมฤทธิ์ของการท�ำงาน
                                 ในที่สุด ไม่ควรปล่อยให้ผู้เรียนเคว้งคว้างหลงทาง เพราะไม่ช่วยให้ได้
                                 เรียนรู้อะไร แต่ควรอยู่ใกล้ ๆ เพ่ือให้ความช่วยเหลือให้แนวทางเพ่ือ
                                 ผู้เรียนได้เรียนรู้แนวทางในการท�ำงาน การวัดและประเมินผล สามารถ
                                 ประเมินได้จากผู้สอน ตัวผู้เรียน และสมาชิกในกลุ่ม ไปจนกระท่ังผู้อื่น
                                 ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53