Page 26 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 26

13-16 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

            การทดสอบการอ่านออกเสียง อาจให้ผู้เรียนดูบทอ่านก่อนสัก 2-3 นาที เพราะเวลาอ่านจะ
ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นสามารถสรา้ งจนิ ตนาการเรอื่ งราวตามสถานการณจ์ รงิ ไดด้ ว้ ย และอาจพจิ ารณาวา่ โดยทวั่ ไปคนชอบ
อ่านออกเสียงเก่ียวกับส่ิงใดในชีวิตจริง อาจจะเป็นจดหมายหรือค�ำช้ีแจงต่าง ๆ

       2.2	 การเล่าเรื่อง (narration) เป็นการทดสอบที่ดีกว่าการอ่านออกเสียง ผู้สอนควรให้ผู้เรียนอ่าน
เรื่องในใจก่อนแล้วจึงให้ผู้เรียนเล่าเร่ืองที่อ่าน ถ้าผู้สอนเลือกเรื่องได้ดีก็จะสามารถทดสอบการออกเสียงได้
ตรงตามที่ต้องการ ไม่ควรตัดคะแนนนักเรียนในกรณีท่ีมีการเล่าหรือสรุปไม่ถูกต้อง ผู้สอนต้องไม่ลืมว่าเรา
ก�ำลังวัดและประเมินผลการออกเสียง

       2.3	 การใช้รูปภาพ นับเป็นการทดสอบทักษะการพูดท่ีดีมากวิธีหน่ึง ผู้สอนจะต้องเร่ิมต้นจากการ
เลือกรูปภาพให้ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการวัด ให้ผู้เรียนดูรูปภาพก่อนสัก 2-3 นาทีก่อนท่ีจะให้ผู้เรียน
บรรยายภาพ ผู้สอนควรมีภาพจ�ำนวนมาก เช่น ภาพส่ิงของ ภาพคน ภาพเหตุการณ์ ภาพสถานท่ีและ
ทัศนียภาพ ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนพูดบรรยายภาพใดภาพหนึ่ง หรืออาจใช้ภาพเป็นชุดแล้วให้ผู้เรียนบรรยาย
เป็นเร่ืองราวโดยหรือให้ผู้เรียนสองคนบรรยายภาพที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน 2 ภาพ เช่นให้ภาพผู้เรียนคนละ
ภาพ แล้วให้แต่ละคนบรรยายภาพของตนแล้วเปรียบเทียบกับภาพของเพ่ือนว่ามีอะไรแตกต่างกันบ้าง โดย
ไม่ต้องดูภาพของเพื่อน ผู้เรียนอาจมีการถามค�ำถาม การโต้แย้ง การแสดงความคิดเห็นกัน เป็นต้น

       2.4	 การใช้แผนท่ี ผู้สอนสามารถใช้แผนท่ีมาทดสอบความสามารถในการพูดบอกทิศทาง สามารถ
ทดสอบเป็นคู่ โดยผู้เรียนคนหน่ึงบอกทิศทางและอีกคนหนึ่งเดินไปตามทางในแผนท่ีตามค�ำบอก

       2.5 	การสมั ภาษณ์ อาจก�ำหนดให้ผูเ้ รียนมาสัมภาษณ์กับผสู้ อน หรอื ใหผ้ ู้เรยี นสองคนจับค่สู ัมภาษณ์
กันเอง โดยผู้สอนก�ำหนดสถานการณ์ ค�ำถามส�ำหรับผู้เรียนไว้ล่วงหน้า

3. 	การทดสอบการอา่ น

       การอ่านเป็นกระบวนการส่ือความหมายของความคิด อารมณ์และความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้เขียนซึ่งมี
ความพยายามที่จะถ่ายทอดความคิดและอารมณ์ไปยังผู้อ่าน ผู้อ่านก็มีความพยายามท่ีจะรับรู้ความคิดและ
ความรู้สึกน้ันจากผู้เขียนโดยใช้ความสามารถ และประสบการณ์ของตนเพ่ือถอดข้อความจากตัวอักษรออก
มาเป็นความหมาย เป็นกระบวนการทางสติปัญญา เมื่อผู้อ่านพบสัญลักษณ์ที่เป็นภาษาเขียนก็จะใช้วิธีการ
ต่าง ๆ เพ่ือท่ีจะจดจ�ำค�ำ กลุ่มค�ำและรู้ความหมายของค�ำหรือกลุ่มค�ำน้ัน ๆ โดยอาศัยกระบวนการต่าง ๆ เช่น
การสรุปความหรือการตีความ จนกระทั่งได้ความหมายจากสิ่งท่ีอ่าน (Shaw, 1973, 272) ดังนั้น การอ่านจึง
เป็นกระบวนการรับรู้ การแปลความหมายของสัญลักษณ์ การเกิดความคิดรวบยอด ตลอดจนเข้าใจถึง
จุดมุ่งหมายและอารมณ์ของผู้เขียน โดยผู้อ่านจะต้องมีความสามารถในการเดาความหมายจากส่ิงท่ีอ่านด้วย

       ในการวัดและประเมินผลการอ่านนั้น ผสู้ อนควรมคี วามเข้าในในหลกั การในการประเมินผลการอา่ น
ดังนี้

       3.1	 ทกั ษะสำ� คญั ทใ่ี ชใ้ นการอ่าน แบ่งเป็น ทักษะหลักในการอ่าน ได้แก่ การหาประเด็นส�ำคัญของ
ขอ้ ความทอี่ า่ น การระบขุ น้ั ตอนของการโตแ้ ยง้ ความคดิ ในขอ้ ความทอี่ า่ น การจบั ใจความสำ� คญั การคาดการณ์
สิ่งที่จะเกิดขึ้น การแยกประเด็นความจริงออกจากความคิดเห็นของผู้เรียน การสรุปข้อความท่ีอ่านได้
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31