Page 31 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 31
เคร่ืองมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 13-21
เรื่องท่ี 13.2.1 การทดสอบแบบข้อเขียน (paper-based)
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนการสอนภาษาภาษาอังกฤษ สามารถกระทำ� ได้หลายวิธกี ารขน้ึ อยู่กับ
เป้าหมายของการวัดของผู้สอนโดยอาจวัดและประเมินความสามารถที่แท้จริงในการน�ำภาษาไปใช้ในทาง
ปฏิบัติหรืออาจวัดความสามารถทางภาษาอังกฤษโดยการใช้การทดสอบซึ่งเป็นข้อเขียน (paper-based) การ
ทดสอบแบบข้อเขียนนั้นผู้สอนสามารถน�ำไปใช้ได้ในการสอบท่ีเป็นทางการเป็นส่วนใหญ่โดยใช้แบบทดสอบ
ที่เป็นได้ทั้งปรนัยและอัตนัย กล่าวคือการทดสอบแบบปรนัยเป็นแบบทดสอบท่ีประกอบด้วยค�ำถาม และได้
ก�ำหนดค�ำตอบไว้ให้เลือก โดยที่ค�ำถามจะก�ำหนดวิธีการและแนวทางในการตอบไว้อย่างชัดเจนว่า ต้องการ
ให้ผู้ตอบท�ำอย่างไร เช่น ก�ำหนดให้เขียนหรือเติมข้อความ หลังจากผู้ตอบได้เลือกแล้วว่าจะเลือกค�ำตอบใด
หรอื จะเขยี นขอ้ ความใดเตมิ ลงไป ในการทำ� แบบทดสอบปรนยั ผตู้ อบมโี อกาสนอ้ ยทจี่ ะเรยี บเรยี งความรู้ หรอื
ถ้อยค�ำตามที่ตนเองอยากจะตอบ ต่างจากแบบทดสอบอัตนัยซึ่งเป็นแบบทดสอบท่ีให้ผู้สอบเขียนตอบ หรือ
เติมความ (Gronlund, 1998, 10)
แบบทดสอบแบบข้อเขียนประกอบด้วยข้อสอบแบบปรนัย ซึ่งเป็นข้อสอบที่มีค�ำถามจ�ำเพาะเจาะจง
ตรวจได้คะแนนตรงกัน มีค�ำส่ังวิธีการปฏิบัติ มีวิธีการตรวจให้คะแนนชัดเจน และแบบทดสอบอัตนัยท่ี
เป็นการเขียนตอบ แบบทดสอบแบบข้อเขียนท่ีใช้วัดและประเมินผลทางภาษาที่สามารถน�ำไปใช้วัดและ
ประเมินความสามารถทางภาษาของผู้เรียนมีดังนี้
1. แบบถูกผิด (True–False)
2. แบบเลือกตอบ (Multiple Choice)
3. แบบเรียงล�ำดับ (Rearrangement)
4. แบบจับคู่ (Matching)
5. แบบเติมค�ำ (Completion)
6. แบบวิธีโคลซ (Cloze Test)
7. การเขียนเรียงความ (Essay writing)
1. แบบทดสอบประเภทถูก-ผิด (true or false)
แบบทดสอบประเภทถูก-ผิดเป็นข้อค�ำถามท่ีก�ำหนดข้อความให้ผู้เรียนพิจารณาเลือกตอบสองทาง
เลอื กเชน่ ถูก-ผดิ ใช-่ ไม่ใช่ จรงิ -ไมจ่ รงิ เหมอื นกนั ตา่ งกนั ฯลฯ โดยใชค้ วามรตู้ ามหลกั วชิ าเป็นเกณฑพ์ จิ ารณา
โดยมีหลักการเขียนข้อสอบแบบถูกผิดดังนี้
1.1 ข้อความจะต้องมีความหมายชัดเจนไม่ก�ำกวม และไม่ควรใช้ค�ำที่แสดงคุณภาพ เช่น มาก
น้อย บ่อย ๆ บางครั้ง ส่วนมาก ส่วนน้อย ไม่ค่อยจะ เป็นต้น ควรเลือกค�ำท่ีแสดงปริมาณจะมีความหมาย
ชัดเจนกว่า