Page 27 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
P. 27
เครื่องมือท่ีใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 13-17
การสังเคราะห์หรือรวบรวมประเด็นความรู้ท่ีได้จากการอ่าน ส�ำหรับทักษะย่อยในการอ่านได้แก่ การท�ำความ
เข้าใจ หรือค�ำที่ใช้แทนค�ำอื่น ๆ ที่ได้กล่าวไปแล้ว การคาดเดาความหมายค�ำศัพท์จากบริบท การท�ำความ
เข้าใจวิธีการเรียบเรียงเน้ือหาและความสัมพันธ์ของเนื้อหาแต่ละตอน ทักษะด้านไวยากรณ์และค�ำศัพท์
การรู้ความหมายของรูปกริยาบางรูป
3.2 ประเภทของแบบทดสอบทักษะอา่ น สามารถออกแบบการวัดด้วยการใช้แบบทดสอบดังน้ี
3.2.1 แบบเลือกตอบ
3.2.2 การตอบค�ำถามแบบสั้น
3.2.3 การถ่ายโอนข้อมูลที่ได้จากการอ่านในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเติมค�ำหรือข้อมูลใน
แผนภูมิ แผนผัง ตาราง เป็นต้น
3.2.4 การเขียนสรุปสิ่งท่ีอ่าน
3.2.5 การเติมค�ำท่ีเว้นว่างในแบบทดสอบแบบโคลซ
3.3 ระดบั ขั้นความสามารถของทกั ษะการอ่าน สามารถแบ่งได้ดังน้ี
3.3.1 ระดบั กลไก เปน็ ความสามารถทผ่ี เู้ รยี นบอกไดว้ า่ กลมุ่ คำ� หรอื ประโยคทใี่ หม้ าเหมอื นกนั
หรือต่างกัน
3.3.2 ระดับความรู้ เป็นความสามารถของผู้เรียนในระดับท่ีสามารถเลือกภาพที่มีความหมาย
ตรงกับคำ� ทีข่ ีดเส้นใต้ของประโยคได้ เลือกประโยคทมี่ ขี ้อความตรงกับขอ้ มลู ท่แี สดงไว้ในแผนทีแ่ ผนภมู ิ และ
กราฟได้ และเลือกค�ำที่มีความหมายตรงกับภาพท่ีก�ำหนดให้ได้
3.3.3 ระดบั ถา่ ยโอน เปน็ ความสามารถในระดบั ทผ่ี เู้ รยี นเลอื กคำ� ทเี่ หมาะสมเตมิ ลงในชอ่ งวา่ ง
ของข้อความที่ให้มาได้ เลือกค�ำหรือวลีท่ีมีความหมายเหมือนค�ำท่ีขีดเส้นใต้ในประโยคได้ เลือกข้อความที่มี
ความหมายคล้ายคลึงหรือใกล้เคียงกับประโยคหรือวลีที่ขีดเส้นใต้ได้ และเลือกค�ำหรือข้อความท่ีอ้างอิงโดย
ค�ำที่ขีดส้นใต้ในข้อความท่ีก�ำหนดให้ได้
3.3.4 ระดับส่ือสาร เป็นความสามารถที่ผู้เรียนสามารถอ่านข้อความท่ีไม่เคยเห็นมาก่อนแล้ว
ตอบค�ำถามเกี่ยวกับเร่ืองที่อ่านได้ อ่านข้อความแล้วเลือกค�ำหรือวลีที่เป็นหัวเร่ือง (topic) ได้ อ่านข้อความ
แล้วเลือกประโยคท่ีมีใจความต่อเนื่องและสัมพันธ์กับข้อความน้ันได้ อ่านข้อความแล้วเลือกประโยคที่มี
ใจความต่อเน่ืองและสมั พนั ธ์กบั ขอ้ ความนั้นได้ และสามารถเลือกประโยคทนี่ ำ� มาเตมิ ในบทสนทนาได้ถกู ต้อง
3.3.5 ระดับวิเคราะห์วิจารณ์ เป็นความสามารถระดับที่ผู้เรียนสามารถอ่านประโยค บท
สนทนาหรือข้อความแล้วตอบค�ำถามเกี่ยวกับอารมณ์หรือความคิดของตัวละครได้ อ่านประโยคบทสนทนา
หรือข้อความแล้วตอบค�ำถามเกี่ยวกับสถานการณ์หรือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสถานการณ์หรือบุคคลใน
เรอื่ งทอ่ี า่ นได้ และอา่ นขอ้ ความแลว้ ตอบคำ� ถามเกยี่ วกบั จดุ ประสงคแ์ ละความคดิ เหน็ ของผเู้ ขยี นได้ (กระทรวง
ศึกษาธิการ, 2553, 73-74)