Page 18 - ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
P. 18
6-8 ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
อนึ่ง สำ�นักงานสถิติแห่งชาติได้เก็บสถิติเปรียบเทียบอัตราค่าจ้างแรงงานระหว่างเมืองกับชนบทไว้ โดย
ข้อมูลสะท้อนว่าค่าจ้างในเขตชนบทตํ่ากว่าค่าจ้างในเขตเมืองราว 2 เท่า ซึ่งช่วยสะท้อนได้เช่นกันว่ารายได้คนชนบทมี
แนวโน้มน้อยกว่ารายได้คนเมืองในสัดส่วนดังกล่าว ทว่า ต้องตระหนักด้วยว่าคนชนบทจำ�นวนไม่น้อยไปใช้แรงงานใน
เขตเมืองแล้วส่งรายได้บางส่วนกลับคืนสู่ชนบท ซึ่งยังขาดสถิติที่สามารถบ่งชี้สัดส่วนที่ชัดเจนได้ ทั้งนี้ พบว่าการจ้าง
งานภาคเกษตรลดลง สอดคล้องกับการลดลงของผลผลิตสินค้าเกษตรสำ�คัญ อาทิ ยางพารา ปาล์มนํ้ามัน และไม้ผล
(บางปีสืบเนื่องมาจากการได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากภัยธรรมชาติ) แต่การจ้างงานนอกภาคเกษตรเพิ่มขึ้น ตาม
การปรับตัวดีขึ้นของภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ
ตารางท่ี 6.2 เปรียบเทียบอัตราคา่ จ้างแรงงานระหว่างเมืองกบั ชนบท
เขตเมือง 2535 2541 2542 2543 หน่วย: บาท
เขตชนบท 6,571 7,435 7,413 7,411
3,597 4,010 3,918 3,938 2544
7,701
4,052
ทม่ี า: สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ.
อย่างไรก็ตาม แม้ภาคอุตสาหกรรมจะโตขึ้นในขณะที่ภาคการเกษตรหดตัวลง ทว่า ภาคการเกษตรยังคงมี
บทบาทสำ�คัญต่อระบบเศรษฐกิจในหลายมิติ อาทิ ในมิติความมั่นคงทางอาหารและการเป็นฐานในการสร้างมูลค่า
เพิ่มของภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งยังคงเป็นแหล่งสร้างรายได้หลักของคนส่วนใหญ่ในประเทศ อยู่จากที่การสำ�รวจใน
ปี 2544 โดยสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติบ่งชี้ว่า ประเทศไทยมีแรงงานภาคเกษตร
(ราว 15,409,000 คน) มากกว่าแรงงานภาคอุตสาหกรรม (ราว 6,300,000 คน) และภาคบริการ (ราว 11,775,000 คน)
(สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2554) ส่วนข้อมูลปี พ.ศ. 2557 สะท้อนว่าแรงงาน
ไทยมากถงึ 57.6 เปน็ แรงงานนอกระบบและสว่ นใหญอ่ ยูใ่ นภาคเกษตรและท�ำ งานอาชพี อสิ ระ (ส�ำ นกั งานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2557) โดยรายได้จากการทำ�เกษตรไม่ได้ลดลงเสมอไป หากแต่มีลักษณะขึ้น
ลงแบบไมแ่ นน่ อน โดยบางปี (เชน่ ปเี พาะปลกู 2553) รายไดจ้ ากการทำ�การเกษตรเพิม่ ขึน้ ในอตั ราคอ่ นขา้ งสงู เนือ่ งจาก
เกิดภัยธรรมชาติในหลายที่ ทำ�ให้ผลผลิตทางการเกษตรมีน้อย จนมีราคาเพิ่มขึ้นมาก
2. สถานการณ์ทางด้านหน้สี ินของครัวเรอื นชนบท
ในภาพรวม สังคมไทยเป็นสังคมที่สมาชิกเป็นหนี้จนเป็นเรื่องปกติ ข้อมูลล่าสุดสำ�รวจในปลายปี พ.ศ. 2557
(ไตรมาสที่ 4) พบว่าคนไทยมีหนี้เพื่อการอุปโภคบริโภคที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้สูงถึง 83,451 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ
16.5 แต่มีสัดส่วนต่อสินเชื่อรวมเพียงร้อยละ 2.4 สินเชื่อภายใต้การกำ�กับผิดนัดชำ�ระหนี้เกิน 3 เดือนเพิ่มขึ้นร้อยละ
30.4 คิดเป็นมูลค่า 14,238 ล้านบาท และเป็นสัดส่วนร้อยละ 4.6 ของสินเชื่อภายใต้การกำ�กับรวมเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบ
กับสัดส่วนร้อยละ 3.0 และ 3.7 ณ สิ้นปี พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2556 ตามลำ�ดับ สำ�หรับยอดคงค้างชำ�ระบัตรเครดิต
เกิน 3 เดือน เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.3 คิดเป็นมูลค่า 8,316 ล้านบาท และเป็นสัดส่วนร้อยละ 2.6 ต่อยอดคงค้าง เพิ่มขึ้น
เมื่อเทียบกับสัดส่วน ร้อยละ 1.9 และ 2.3 ณ สิ้นปี พ.ศ. 2555 และ พ.ศ. 2556 ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ แม้หนี้เสียของ
สนิ เชือ่ อปุ โภคบรโิ ภคตอ่ สนิ เชือ่ รวมจะยงั มสี ดั สว่ นทีต่ ํา่ แตส่ ดั สว่ นการผดิ นดั ช�ำ ระหนีข้ องสนิ เชือ่ ภายใตก้ ารก�ำ กบั และ