Page 20 - ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
P. 20
6-10 ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
แนวตอบกจิ กรรม 6.1.1
1. รายไดค้ นชนบทมาจากภาคเกษตรเปน็ หลกั แตก่ ม็ แี นวโนม้ มาจากนอกภาคการเกษตรมากขนึ้ เรอื่ ย ๆ
จากท่คี นชนบทมีลักษณะเป็นก่ึงชาวนาก่งึ กรรมกรมากขนึ้
2. เกดิ จากการตกอยู่ในวงจรหนี้ ต้ังแต่ความจำ�เป็นทจ่ี ะต้องกู้เงนิ มาลงทุนเพาะปลูกไปจนถึงการขาย
ผลผลิตเพ่ือใช้หนี้ก่อนที่จะขอกู้ยืมรอบใหม่ อีกท้ังเกิดจากการพ่ึงพิงปัจจัยการผลิตและเทคโนโลยี และค่านิยม
วตั ถุนิยมและบรโิ ภคนิยมท่ขี ยายตวั มากขึ้นในชนบท
เร่ืองท่ี 6.1.2
สถานการณท์ างด้านความยากจนและเหล่ือมลาํ้
1. ความยากจนในชนบท
จากตารางที่ 6.3 จะเหน็ วา่ คนจนในประเทศไทยมสี ดั สว่ นราวรอ้ ยละ 9-43 ของประชากรทัง้ หมด และสามารถ
อนุมานได้ว่าส่วนใหญ่คือเกษตรกรที่อาศัยอยู่ในชนบท โดยสัดส่วนช่วงปี พ.ศ. 2531-2550 มีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ
ซึ่งต่างกับช่วงปี พ.ศ. 2519-2531 ที่สัดส่วนประชากรที่อยู่ในข่ายยากจนในประเทศยังคงลดลงไม่มากนัก โดยลดลง
จากร้อยละ 30 ในปี 2519 เหลือร้อยละ 23.7 ในปี พ.ศ. 2531 อย่างไรก็ตาม ในความเป็นจริง ปัญหาความยากจน
มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น จนการใช้เส้นวัดความยากจนชี้วัดอย่างเดียว ไม่สามารถสะท้อนภาพปรากฏการณ์ที่เป็น
อยู่ได้ โดยเฉพาะในมิติของการจนอำ�นาจและโอกาส ซึ่งส่งผลให้คนจนถูกกดทับจนไม่สามารถลืมตาอ้าปากได้ หรือ
ในอีกแง่หนึ่งคือความยากจนมีลักษณะเป็นปัญหาในเชิงโครงสร้างมากกว่าบนฐานของความเกียจคร้านและไม่ดิ้นรน
ของปัจเจกบุคคล เช่น เป็นผลมาจากนโยบายการทำ�ให้คนจนลงของรัฐ (นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2543)
ตารางท่ี 6.3 แสดงจ�ำ นวนและสดั ส่วนคนจนในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2531-2550
สัดส่วนคนจน 2531 2533 2535 2537 2539 2541 2543 2545 2547 2549 2550
(ร้อยละ) 42.21 33.69 28.43 18.98 14.75 17.46 20.98 14.93 11.16 9.55 8.48
จำ�นวนคนจน 22.1 18.4 15.8 10.7 8.5 10.2 12.6 9.1 7.0 6.1 5.4
(ล้านคน)
52.4 54.5 55.6 56.6 57.6 58.7 59.9 61.2 62.9 63.4 63.9
ประชากรทั่วประเทศ
(ล้านคน)
ท่มี า: สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ.