Page 22 - ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
P. 22

6-12 ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย

ตารางที่ 6.5 แสดงสัมประสิทธคิ์ วามไมเ่ สมอภาค (Gini coefficients) ของรายได้ ปี พ.ศ. 2531-2555

                  ปี พ.ศ.       ทว่ั ประเทศ  เขตเมอื ง  เขตชนบท
                  2531            0.487       0.434      0.439
                  2533            0.515       0.478      0.447
                  2535            0.536       0.494      0.439
                  2537            0.520       0.473      0.457
                  2539            0.513       0.479      0.440
                  2541            0.507       0.465      0.450
                  2543            0.522       0.471      0.468
                  2545            0.507       0.473      0.448
                  2547            0.493       0.461      0.445
                  2549            0.511       0.478      0.479
                  2550            0.497       0.473      0.457
                  2551            0.401       0.384      0.358
                  2552            0.396       0.376      0.359
                  2553            0.394       0.379      0.356
                  2554            0.259       n/a         n/a
                  2555            0.273       n/a         n/a

ท่ีมา: สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ.

       ทั้งนี้ โครงสร้างความเหลื่อมลํ้าดังกล่าวเกิดขึ้นจากความไม่เป็นธรรมของการจัดสรรและกระจายทรัพยากร
การพัฒนาของประเทศ กล่าวคือ การใช้ยุทธศาสตร์มุ่งเน้นพึ่งพิงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมหภาค (Growth
Dependency) โดยเชื่อว่าเมื่อเศรษฐกิจมหภาคดี เศรษฐกิจจุลภาครวมถึงเศรษฐกิจในชนบทก็จะดีตามไปด้วย
(Trickle-down effect) เหมือนกับการหยดสีที่ภายหลังจากหยดลงไปในกระดาษไขแล้ว สีก็จะแพร่ขยายออกไป แต่
ทว่าในความเป็นจริงสิ่งที่เกิดขึ้นคือการพัฒนาที่ผ่านมาเป็นเหมือนการจุ่มฟองนํ้าลงไปในขัน ซึ่งฟองนํ้าก็จะดูดซับเอา
นํ้าในขันเข้ามาในตัวฟองนํ้า กล่าวคือ กระจุกมากกว่าที่จะกระจาย และมากไปกว่านั้นยังสร้างภาวะความเป็นชายขอบ
(Marginalization) และความเป็นอื่นหรือความเป็นสิ่งแปลกปลอม (Otherness) ให้กับผู้คนที่เสียเปรียบในภาคส่วน
ต่าง ๆ ของสังคม รวมไปถึง คนในชนบท

       นอกจากนัน้ ความเหลือ่ มลํา้ ยงั เกดิ จากการทีร่ าคาผลผลติ ทางการเกษตรขึน้ อยูก่ บั ระบบการตลาดทีเ่ กษตรกร
ควบคมุ ไมไ่ ดภ้ ายหลงั จากการปฏวิ ัตเิ ขียว (Green Revolution) เปน็ ต้นมา (ตัง้ แต่ พ.ศ. 2504 ซึ่งมีการส่งเสรมิ เกษตร
เชิงเดี่ยว พึ่งเทคโนโลยี และสารเคมี เพื่อป้อนอุตสาหกรรมและส่งออก) กล่าวคือ พวกเขาถูกเอารัดเอาเปรียบจาก
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27