Page 25 - ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
P. 25

สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจกับการพัฒนาชนบทไทย 6-15

และกระทบกับเศรษฐกิจชนบทด้วยในท้ายที่สุด อาทิ การเกิดมหาอุทกภัยในปลายปี พ.ศ. 2554 ส่งผลให้พื้นที่ป่าและ
พื้นที่เกษตรได้รับผลกระทบอย่างมาก โดยศูนย์ปฏิบัติการรองรับเหตุฉุกเฉิน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้
ประมวลสรุปไว้ว่าพื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหายราว 12.60 ล้านไร่ แบ่งเป็น ข้าว 9.98 ล้านไร่ พืชไร่ 1.87 ล้านไร่
พืชสวนและอื่น ๆ 0.75 ล้านไร่ กระทบต่อเกษตรกร 1,284,106 ราย ด้านประมง กระทบเกษตรกร 130,041 ราย บ่อ
ปลา 215,531 ไร่ บอ่ กุง้ /ปู/หอย 53,557 ไร่ กระชัง/บอ่ ซีเมนต์ 288,387 ตารางเมตร และดา้ นปศุสตั ว์ กระทบเกษตรกร
254,670 ราย โดยสตั วไ์ ดร้ บั ผลกระทบทัง้ สิน้ 30.32 ลา้ นตวั ซึง่ กระทบตอ่ เศรษฐกจิ ภาพรวมและเศรษฐกจิ พึง่ พาตนเอง
ของคนจนและกลุ่มเปาะบางในชนบท อีกทั้งเหตุการณ์นี้มีผลกระทบต่อราคาข้าวในระดับโลกโดยรวมในประเทศ และ
ผลกระทบตอ่ ชาวนานัน้ นบั เปน็ ครัง้ ยิง่ ใหญท่ ีส่ ดุ เพราะพวกเขาสญู เสยี ทัง้ การลงทนุ ในพชื ผลการเกษตร และตอ้ งรอให้
นํา้ ลดลงกอ่ นจงึ จะปลกู พืชรอบใหมไ่ ด้ ซึง่ น�ำ ไปสู่สถานการณ์ทีย่ ากลำ�บากส�ำ หรบั ชาวนาสว่ นใหญท่ ีไ่ มม่ ที ุนสำ�รอง รวม
ทั้งทำ�ลายความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศของชนบท เช่น การที่กล้วยไม้หลายสายพันธุ์ถูกนํ้าท่วมทำ�ลาย

  กิจกรรม 6.1.3
         จงยกตวั อย่างการเบียดบงั และแย่งชงิ ทรัพยากรของชุมชนโดยรฐั และทุน

  แนวตอบกิจกรรม 6.1.3
         กรณีของการเบียดบังและแย่งชิงโดยรัฐ เช่น การสร้างเข่ือนเพ่ือผลิตกระแสไฟฟ้า การเปิดสัมปทาน

  พลงั งาน และการสรา้ งโรงงานผลติ ไฟฟา้ พลงั งานถา่ นหนิ ในขณะท่ี กรณขี องการเบยี ดบงั และแยง่ ชงิ โดยทนุ เชน่
  การลกั ลอบตัดไมท้ �ำ ลายป่า และการกวา้ นซอ้ื ที่ดินเพ่อื เกง็ ก�ำ ไรหรอื นำ�มาให้เกษตรกรเช่าอีกทอดหนง่ึ

เร่ืองท่ี 6.1.4
สถานการณก์ ารผลิตในชนบท

       การผลิตในภาคชนบทเป็นการทำ�การเกษตรเชิงเดี่ยวที่มุ่งผลิตผลสูงสุดสำ�หรับเลี้ยงคนเมืองและส่งออกต่าง
ประเทศโดยการส่งเสริมจากนโยบายภาครัฐ จนทำ�ให้คนชนบทต้องพึ่งพาการบริโภคของคนเมืองและการส่งออก ทั้งนี้
การเกษตรในชนบทยังถูกเน้นไปที่การส่งเสริมให้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับสร้างมูลค่าเพิ่มโดยภาคอุตสาหกรรม และถูกให้
ความสำ�คัญน้อยกว่าการส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมในภาพรวม ทำ�ให้อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม
น้อยกว่าภาคอุตสาหกรรมราว 1.5-4 เท่า เมื่อพิจารณาผ่านผลการดำ�เนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ยกเว้นใน
ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 8 และ 10 ที่มีอัตราการขยายตัวเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน ดังแสดงในตารางที่ 6.6
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30