Page 26 - ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
P. 26
6-16 ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
ตารางที่ 6.6 แสดงผลการด�ำ เนินงานตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ ฯ
แผนฉบบั ท่ี อัตราการขยายตวั อัตราการขยายตัว อัตราการขยายตัว
ทางเศรษฐกจิ โดยรวม ทางเศรษฐกจิ ภาคเกษตรกรรม ทางเศรษฐกจิ ภาคอุตสาหกรรม
1 (04-09)
2 (10-14) 8.1 6.3 1.2
3 (15-19) 7.8
4 (20-24) 7.1 4.5 11.4
5 (25-29) 7.1
6 (30-34) 5.38 5.6 11.1
7 (35-39) 10.94
8 (40-44) 8.09 3.5 8.7
9 (45-49) 0.10
10 (50-54) 5.65 3.31 5.70
11 (55-57) 2.60
3.33 4.55 15.48
2.98 10.25
2.04 2.04
2.51 7.47
2.42 2.60
1.87 3.47
ทมี่ า: สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและธนาคารแห่งประเทศไทย.
อนึ่ง เมื่อพิจารณาสัดส่วนโครงสร้างการผลิตต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศดังแสดงในตารางที่ 6.7
(พิจารณาคราวละทศวรรษ) จะพบว่าสาขาการเกษตรได้ลดบทบาทความสำ�คัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ ลดจากการมีสัดส่วนร้อยละ 40.5 ในปี พ.ศ. 2503 มาเหลือเพียงร้อยละ 8.9 ในปี พ.ศ. 2552
ในทางตรงกันข้าม จะพบว่าสาขาอุตสาหกรรมได้เพิ่มความสำ�คัญขึ้นเรื่อย ๆ เป็นลำ�ดับ โดยเพิ่มสัดส่วนจากร้อยละ
20 ในปี พ.ศ. 2503 มาอยู่ที่ร้อยละ 44.1 ในปี พ.ศ. 2552 และมีสัดส่วนเกือบถึงครึ่งในปี พ.ศ. 2533 ในขณะที่ ใน
ภาพรวม ภาคบริการมีความสำ�คัญสูงสุดกล่าวคือเกือบร้อยละ 50 โดยขึ้นมาสูงถึงร้อยละ 58.7 ในปี พ.ศ. 2543
ตารางท่ี 6.7 แสดงการเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งการผลิตระหว่างปี พ.ศ. 2503-2552
สดั ส่วนโครงสร้างการผลิต 2503 2513 2523 2533 2543 2552
สาขาเกษตร 40.5 27.3 20.3 13.5 12.7 8.9
สาขาอุตสาหกรรม 20.0 24.0 30.0 48.7 28.6 44.1
สาขาบริการ 39.5 48.7 49.7 37.8 58.7 47.0
ทม่ี า: สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.