Page 33 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 33

การ​สื่อสาร การป​ ระสาน​งาน และ​การค​ วบคุมง​ าน​เทคโนโลยีแ​ ละ​สื่อสารก​ าร​ศึกษา 8-23

       1.4 	 ผป​ู้ ระสานง​ าน ผปู​้ ระสานง​ านจ​ ะเ​ปน็ จ​ ดุ รวมก​ ารป​ ระสานง​ านอ​ าจเ​ปน็ ผ​ ชู​้ ีน้ �ำ  เสนอแ​ นะ ดแู ล ก�ำ กบั
หรือ​รวบรวม​ให้การด​ ำ�เนิน​งาน การ​ประสานง​ าน​ตาม​ขั้น​ตอน​ที่​ต้องการ​หรือก​ ำ�หนด​ไว้

       1.5 	 ระบบ​หรือ​ขั้น​ตอน​ใน​การ​ประสาน​งาน เป็น​ข้อ​ตกลง​หรือ​ข้อ​กำ�หนด​ที่​แสดง​เป็น​ขั้น​ตอน​ของ​
การ​ประสาน เพื่อ​ให้​เข้าใจ​ว่า​แต่ละ​ขั้น​ตอน​ควร​ดำ�เนิน​การ​อย่างไร มี​ภารกิจ​และ​หน้าที่​ที่​ต้อง​ปฏิบัติ​ควร
​ดำ�เนินก​ าร​เมื่อ​ใด และ​ผู้รับ​ผิดช​ อบ​คือ​ใคร ระบบห​ รือ​ขั้น​ตอน​ใน​การ​ประสาน​งาน​แสดง​ใน​รูปแ​ บบ​จำ�ลอง คือ
แผนภูมิ หรือแ​ ผนภาพ

       1.6 	 เคร่ือง​มือ​ใน​การ​ประสาน​งาน เครื่อง​มือ​ใน​การ​ประสาน​งาน​ที่​ดี คือ ระบบ​การ​สื่อสาร​ที่​มี​
ประสิทธิภาพ​ที่​ผู้เ​กี่ยวข้อง​สามารถ​ติดต่อส​ อบถาม หรือ​ตรวจส​ อบ​ซึ่งก​ ันแ​ ละก​ ันไ​ด้​ตลอด​เวลา

2. 	หลกั ​การป​ ระสาน​งาน​ใน​งาน​เทคโนโลยแ​ี ละ​ส่อื สารก​ าร​ศึกษา

       หลักก​ ารป​ ระสาน​งาน​ใน​งานเ​ทคโนโลยี​และ​สื่อสารก​ ารศ​ ึกษา​มี​หลัก​สำ�คัญค​ รอบคลุม (1) ต้องอ​ าศัย​
ความ​ร่วม​มือ (2) มีร​ ะบบ​การส​ ื่อสาร​ที่ม​ ี​ประสิทธิภาพ (3) มีค​ วาม​จริงใจ​และ​ความต​ ั้งใจจ​ ริง (4) มีค​ วาม​เข้าใจ​
ตรง​กัน​ใน​วัตถุประสงค์ก​ าร​ประสานง​ าน (5) เน้น​การ​ประสานค​ วาม​คิด​เห็น (6) มีก​ ารป​ ระสานง​ านท​ ุก​ระดับช​ ั้น​
ของส​ าย​การบ​ ังคับบ​ ัญชา และ (7) มี​การ​ควบคุม และ (8) มี​การป​ ระเมินก​ าร​ประสาน​งาน

       2.1 	 ต้อง​อาศัย​ความ​ร่วม​มือ เงื่อนไข​ของ​การ​ประสาน​งาน คือ ความ​ร่วม​มือ (Cooperation) ที่​
บุคคลแ​ ต่ละค​ นเ​ต็มใจใ​นก​ ารช​ ่วยเ​หลือซ​ ึ่งก​ ันแ​ ละก​ ัน เพื่อใ​ห้บ​ รรลุเ​ป้าห​ มายข​ องห​ น่วยง​ านห​ รืออ​ งค์กร ในก​ าร​
ปฏิบัติ​งาน​บุคคล​บาง​คน​อาจ​มี​สมรรถภาพ​สูง​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน​ใน​หน้าที่​ที่​รับ​ผิด​ชอบ​อยู่ ไม่​เห็น​ความ​สำ�คัญ​
ของ​การ​ให้ค​ วามร​ ่วม​มือ​กับบ​ ุคคล​อื่น ถือว่า​บุคคล​นั้นข​ าด​การป​ ระสานง​ าน​กับบ​ ุคคล​อื่น

       2.2 	 ม​รี ะบบ​การส​ ื่อสาร​ทม​ี่ ปี​ ระสทิ ธภิ าพ การ​สื่อสารเ​ป็นห​ ัวใจข​ องก​ ารป​ ระสานง​ าน การส​ ื่อสาร​เป็น​
สิ่ง​ที่​แยก​จากก​ ัน​ไม่​ได้ เพราะร​ ะบบ​การ​ติดต่อส​ ื่อสาร​เป็น​สื่อก​ ลาง​ที่​เชื่อม​โยง​บุคคลต​ ่างๆ ภายใน​หรือร​ ะหว่าง​
หน่วยง​ าน​หรืออ​ งค์กร​ให้เ​ป็น​อันห​ นึ่ง​อันเ​ดียวกัน ช่วยใ​ห้บ​ ุคคล​สามารถ​ปฏิบัติง​ านใ​ห้ส​ ำ�เร็จ​ตามว​ ัตถุประสงค์​
ได้ ในก​ าร​ประสานง​ านต​ ้อง​มี​ระบบก​ าร​สื่อสาร​ที่ต​ ิดต่อ​ถึงกัน​ได้

       2.3 	 มค​ี วามจ​ รงิ ใจแ​ ละค​ วามต​ ง้ั ใจจ​ รงิ เป็นห​ ลักก​ ารท​ ีส่​ ำ�คัญใ​นก​ ารป​ ระสานง​ าน ทุกค​ นท​ ีป่​ ระสานง​ าน​
ต้องม​ ีค​ วามจ​ ริงใจแ​ ละ​ตั้งใจ​จริง ทำ�ให้ก​ าร​ประสานง​ าน​บรรลุเ​ป้าห​ มาย

       2.4 	 มี​ความ​เข้าใจ​ตรง​กัน​ใน​วัตถุประสงค์​การ​ประสาน​งาน ใน​การ​ประสาน​งาน​ทุก​คน​ต้อง​เข้าใจ​ให้​
ตรง​กันว​ ่า เรา​ต้องการ​จะท​ ำ�​อะไร เป็นการ​กำ�หนด​วัตถุประสงค์​ให้ต​ รง​กันก​ ่อน​การ​ดำ�เนินง​ าน

       2.5 	 เนน้ ก​ ารป​ ระสานค​ วามค​ ดิ เ​หน็ การใ​หท้​ ุกค​ นม​ โี​อกาสแ​ สดงค​ วามค​ ิดเ​ห็นแ​ ละน​ ำ�​ความค​ ิดเ​ห็นน​ ั้น​
มา​ผสมผ​ สานใ​ห้​ได้ เพื่อใ​ห้​ทุก​คนเ​ข้าใจ​ในส​ ถานการณ์​นั้น​การป​ ระสานง​ านน​ ั้นจ​ ะ​บังเกิด​ผลด​ ี

       2.6 	 มก​ี ารค​ วบคมุ การค​ วบคุมง​ าน เปน็ การป​ ระค​ บั ป​ ระคองก​ ารป​ ฏิบตั งิ​ านข​ องผ​ เู​้ กีย่ วขอ้ งใ​หป้​ ระสาน​
กัน​และ​มุ่ง​ไป​สู่​จุด​มุง​หมาย​เดียวกัน ดัง​นั้น การ​ประสาน​งาน​เกิด​ขึ้น​เนื่องจาก​การ​ควบคุม การ​ควบคุม​จึง​มี​
บทบาท​สำ�คัญ​ต่อ​การ​ประสาน​งาน​มาก หัวหน้า​งาน​ต้อง​คอย​ควบคุม​ให้​งาน​ประสาน​สอดคล้อง​และ​ดำ�เนิน​ไป​
ตามแ​ ผนที่ก​ ำ�หนดไ​ว้
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38