Page 38 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 38
2-26 วิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีก ารพ ิมพ์แ ละบรรจุภ ัณฑ์
เรอื่ งท ี่ 2.2.2
ไฮโดรไลซิสข องเกลอื
เมื่อนำ�เกลือมาละลายนํ้าจะได้ผลของการละลายที่ต่างกันขึ้นอยู่กับประเภทของเกลือที่นำ�มาละลาย โดย
สารล ะลายที่ได้อ าจเป็นกล าง เป็นกรด หรือเป็นเบส ตัวอย่างเช่น เกลือ NaCl เมื่อล ะลายนํ้าได้สารละลายเป็นกลาง ใน
ขสณาระลทะี่ถล้าานยเำ�ปเก็นลกือร ดCHท3ั้งCนOี้เพOราNะaไอมอาอลนะขลอายงเนกํ้าลือจดะไังดก้สลา่ารวลทะำ�ลปาฏยิกเปิร็ินยาเบก สับนแํ้าละปเฏมิกื่อิรนิยำ�าเกช ลนือิดนNี้เรHีย4กCวl่ามปาลฏะิกลิราิยยานก ํ้าารจแะยไดก้
สลายด้วยนํ้า หรือไฮโดรไลซ ิส (hydrolysis)
ผลการละลายนํ้าของเกลือแต่ละชนิดอธิบายได้โดยการพิจารณาการแตกตัวเป็นไอออนของนํ้าได้ H+ และ
OH— ดังสมการ
H2O H+ + OH—
เมื่อนำ�เกลือ NaCl มาละลายนํ้า NaCl จะแ ตกตัวห มดได้ Na+ และ Cl— ทั้ง Na+ และ Cl— ไม่ท ำ�ปฏิกิริยา
กับน ํ้า เพราะ Na+ ไม่รวมกับ OH— เนื่องจาก NaOH เป็นเบสแ ก่จะแตกตัวเป็นไอออนหมด และ Cl— ไม่ร วมกับ H+
เนื่องจาก HCl เป็นกรดแก่จ ะแตกตัวเป็นไอออนห มดเช่นเดียวกันท ำ�ให้ปริมาณ H+ และ OH— ไม่มีก ารเปลี่ยนแปลง
เรียกว่าไม่มีก ารรบกวนส มดุลข องนํ้า สภาพของส ารละลายจึงเป็นกล าง
ในกรณีของก ารเติมเกลือ CH3COONa ลงในน ํ้า เกลือ CH3COONa จะแ ตกต ัวดังส มการ
CH3COONa CH3COO— + Na+
การท ำ�ปฏิกิริยาก ับ H2O จะพ ิจารณาก ารร วมตัวร ะหว่าง H+ กับ CH3COO— และ Na+ กับ OH— ดังสมการ
H+ + CH3COO— CH3COOH
เไนปื่อรวงจมาตกัวปNกฏับaิกOCิรHิยHา3เนปCี้จ็นOะเมOบีส—Hแก+กล่แเาหตยลกเปือต็นเัวนหCื่อมHงดจ3จาCกึงOไมCO่มHHีก3าCจรึงOรทวOำ�มใHตหัว้ปเกปรัน็ินมรกาะณรหดวHอ่า่อ+งนใNแนaตน+กํ้ากลตับดัวลไOดงHใ้นน้—อขยทณำ�ทใะหทำ�ใ้ปี่ปหรร้ ิมิมHาา+ณณทOOี่มHHีอ—ย—มู่เมดีมีเิมทากใ่านเกดนวิมํ้่าา
H+ เรียกว่าสมดุลข องนํ้าถูกร บกวนโดยทำ�ให้ม ี OH— มากกว่า H+ สารละลายจ ึงมีสภาพเป็นเบส
ส่วนในก รณีข องก ารเติมเกลือ NH4Cl ลงในนํ้า เกลือ NH4Cl จะแตกตัวด ังส มการ
NH4Cl NH+4 + Cl—