Page 81 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 81

เคมีอินทรีย์ 3-69

เรอ่ื งท​ ่ี 3.3.3
แอล​ ดไี ฮด์ คี​โทน และ​กรดค​ ารบ​์ อกซ​ ิล​ กิ

              สารประกอบ​อินทรีย์​ที่​มี​ออกซิเจน​แบบ​พันธะ​คู่​เป็น​องค์​ประกอบ เป็น​สารประกอบ​อินทรีย์​ที่​มี​หมู่​คาร์บอนิ​ล
                       O

(carbonyl group, C ) อยูใ่​นโ​มเลกุล สารประกอบอ​ นิ ทรียท​์ ีม่​ ห​ี มูน่​ ีอ้​ ยูใ​่ นโ​ครงสร้าง เรียกว​ ่า สารป​ ระก​ อบค​ ารบ์ อนล​ิ

หมู่ค​ าร์บอนิ​ล​จะ​ต่อก​ ับอ​ ะตอมห​ รือห​ มู่​ที่ต​ ่าง​กันไ​ด้​เป็น​สาร​ประเภทต​ ่างๆ ดังนี้
                                                           	O

              ถ้าห​ มู่ค​ าร์บอนิล​ ​ต่ออ​ ยู่​กับ  H จะ​เป็นห​ มู่​แอ​ลดีไฮด์ (aldehyde,  C   H)
                                                           	O
              ถ้า​หมู่​คาร์บอนิล​ ต​ ่อ​อยู่ก​ ับ R จะเ​ป็น​หมู่ค​ ี​โทน (ketone,  C   R )
                                                                      	O
              ถ้า​หมู่​คาร์บอนิ​ล​ต่อ​อยู่​กับ  OH จะ​เป็น​หมู่​คาร์​บอก​ซิล (carboxyl,  C   OH) ดัง​ตัวอย่าง​โครงสร้าง
ต​ ่อไ​ป​นี้
              	O               	 O 	   O
                                                                                                   R C OH
	 R C H	                       RCR

	 แอ​ลดีไฮด์ 	                 คีโ​ทน 	                                                            กรด​คาร์บ​ อก​ซิล​ ิก

	 (aldehyde) 	                 (ketone) 	                                                        (carboxylic acid)

       ทั้งนี้ หมู่ R อาจจ​ ะเ​ป็นห​ มู่แ​ อ​ริล (Ar) ใดๆ ที่มา​จากส​ ารแ​ อ​โรแ​ ม​ติกก​ ็ได้
       เนื่องจาก​แอ​ลดีไฮด์​และ​คี​โทน​มี​สมบัติ​ที่​ขึ้น​อยู่​กับ​คาร์บอนิ​ล​โดยตรง ใน​ขณะ​ที่​กรด​คาร์​บอก​ซิ​ลิ​กมี​สมบัติ​ที่​
ได้​รับ​อิทธิพล​จาก​หมู่ OH ด้วย ใน​ที่​นี้​จึง​ขอ​แยก​กล่าว​ถึง​สาร​ทั้ง​สาม​กลุ่ม​เป็น​แอ​ลดีไฮด์​และ​คี​โทน​กลุ่ม​หนึ่ง และ​
กรด​คาร์บ​ อกซ​ ิ​ลิก​ อีก​ กล​ ุ่ม​หนึ่ง

1. 	แอล​ ดไี ฮด​แ์ ละค​ ีโ​ทน                                                     O
              แอล​ ดีไฮด์​และค​ ี​โทน​มีห​ มู่​ฟังก์ชันเ​ป็นห​ มู่ค​ าร์บอนิล​ (    C      ) ซึ่งพ​ ันธะค​ ู่ร​ ะหว่างค​ าร์บอน-ออกซิเจนม​ ี​ความ​
ว่องไว​ใน​การ​เกิด​ปฏิกิริยา​เคมี ทั้งนี้​เป็น​เพราะ​ออก​ซิ​เจ​นมีอิ​เล็ก​โทร​เน​กา​ทิวิ​ตี​มากกว่า​คาร์บอน ออกซิเจน​จึง​มี​ความ​

เป็น​ขั้ว​ค่อน​ข้าง​ลบ คาร์บอน​มี​ความ​เป็น​ขั้ว​ค่อน​ข้าง​บวก การ​ที่​โมเลกุล​สาร​ประ​กอบ​คาร์บอนิ​ลมี​ความ​เป็น​ขั้ว ทำ�ให้​
สามารถ​เกิด​ปฏิกิริยา​กับ​ตัว​ทำ�​ปฏิกิริยา​ที่​เป็น​นิว​คลี​โอ​ไฟล์​มี​ประจุ​ลบ (Nu—) และ​อิ​เล็ก​โทร​ไฟล์​มี​ประจุ​บวก (E+) ได้

โดยทีไ่​ปท​ �ำ ใหพ​้ นั ธะร​ ะหว่างค​ ารบ์ อน-ออกซเิ จนแ​ ตกอ​ อก และน​ ิวค​ ลโ​ี อไ​ฟลเ์​ข้าท​ �ำ ​ปฏิกริ ยิ าท​ ีค่​ าร์บอนข​ องห​ มูค่​ าร์บอนล​ิ

อิเ​ล็ก​โทร​ไฟล์​เข้าท​ ำ�​ปฏิกิริยาท​ ี่อ​ อกซิเจนข​ อง​หมู่ค​ าร์บอนิ​ล ดังนี้
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86