Page 86 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 86
3-74 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพ ิมพ์และบรรจุภ ัณฑ์
ตารางท ่ี 3.13 ตวั อยา่ งการเรียกช อ่ื กรดค ารบ์ อซลิ กิ ในระบบ IUPAC และช่อื สามญั
สูตรท่ัวไป โครงสรา้ ง ชื่อระบบ IUPAC ชือ่ สามญั
CH2O2
C2H4O2 HCOOH methanoic acid (กรดเมทาโนอิก) formic acid (กรดฟอร์มิก)
C3H6O2 CH3COOH ethanoic acid (กรดเอทาโนอิก) acetic acid (กรดแอซีติก)
C4H8O2 CH3CH2COOH propanoic acid (กรดโพรพาโนอิก) propionic acid (กรดโพรพิโอนิก)
C5H10O2 CH3(CH2)2COOH butanoic acid (กรดบิวทาโนอิก) butyric acid (กรดบิวทีริก)
CH3(CH2)3COOH pentanoic acid (กรดเพนทาโนอิก) valeric acid (กรดวาเลอริก)
โครงสร้างโมเลกุลข องกรดคาร์บ อกซ ิล ิก มีห มู่ค าร์บอนิล และพ ันธะระหว่างคาร์บอน-ออกซิเจน และ
ระหว่างออกซิเจน-ไฮโดรเจนจ ะม ีข ั้ว และมีอ ิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่ออกซิเจนด้วย
H O
O
R
ภาพท ่ี 3.13 ความเป็นข ว้ั แ ละอิเล็กตรอนคูโ่ ดดเด่ียวของก รดคารบ์ อกซิล กิ
จากโครงสร้างโมเลกุลของกรดคาร์บอกซิลิกดังกล่าว ทำ�ให้กรดคาร์บอกซิลิกเป็นสารที่มีขั้วสูงด้วย
อิทธิพลของห มู่ไฮด รอกซ ิล (OH) และห มู่ค าร์บอนิล (C = O) ถ้าโมเลกุลม ีจ ำ�นวนคาร์บอนน้อยจ ะละลายน ํ้าได้ด ี เมื่อ
จำ�นวนอะตอมค าร์บอนเพิ่มข ึ้นมาก การล ะลายน ํ้าจ ะล ดล ง กรดคาร์บอกซ ิลิกมีความเป็นข ั้วสูงกว่าแอลกอฮอล์ เมื่อ
เปรียบเทียบโมเลกุลของสารทั้งสองที่มีจำ�นวนคาร์บอนเท่ากัน กรดคาร์บอกซิลิกมีพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล
มากกว่าแ อลกอฮอล์ กรดค ารบ์ อกซ ลิ ิกจ ึงม จี ุดเดือดส ูงก ว่า เมื่อก รดค ารบ์ อกซ ลิ กิ มจี ำ�นวนค าร์บอนม ากจ ะม โีครงสร้าง
เป็นสายต รงเรียกว ่า กรดไขมัน (fatty acid) เป็นส ่วนประกอบในไขม ันช นิดต่างๆ
2.1.2 ปฏกิ ิริยาเคมขี องก รดค ารบ์ อกซลิ ิก
1) ปฏิกิริยาแ สดงสมบัติค วามเปน็ กร ด กรดคาร์บอกซ ิล ิกเป็นกรดอ่อน เมื่อล ะลายนํ้าจะแ ตกต ัว
ให้ H+ ได้เล็กน้อย