Page 82 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 82
3-70 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์แ ละบรรจุภ ัณฑ์
ความมีขั้วของโมเลกุลแอลดีไฮด์และคีโทน ทำ�ให้จุดเดือดของสารค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับสารที่
โมเลกุลไม่มีข ั้วแต่ม ีน ํ้าห นักโมเลกุลใกล้เคียงก ัน แต่ย ังมีจุดเดือดตํ่ากว่าแอลกอฮอล์ เพราะแ อล ดีไฮด์แ ละค ีโทนไม่มี
พันธะไฮโดรเจนร ะหว่างโมเลกุล
แอล ดีไฮด์และค ีโทนที่มีข นาดเล็กสามารถละลายน ํ้าได้ดีเพราะมีพ ันธะไฮโดรเจนกับน ํ้าได้
การเรยี กช ือ่ แ อล ดไี ฮดต์ ามร ะบบ IUPAC ใหเ้ รยี กต ามแ อลเคนท เี่ ปน็ ช ือ่ ห ลกั โดยเปลีย่ น –e เปน็ –al โดยไมต่ อ้ ง
ระบุต ำ�แหน่งข องห มู่ CHO เนื่องจากต ้องให้เป็นต ำ�แหน่งที่ 1 เสมอ ถ้าม ีห มู่อ ื่นด ้วยให้เรียกไว้เป็นค ำ�นำ�หน้าช ื่อห ลัก
โดยร ะบุต ำ�แหน่งข องห มู่ด ้วย สำ�หรับช ื่อส ามัญข องแ อล ดีไฮด์ท ี่ม ีโครงสร้างไม่ซ ับซ ้อน อาจเรียกต ามช ื่อส ามัญข องก รด
คาร์บอกซิลิก โดยเปลี่ยนคำ�ลงท้ายจาก –ic acid หรือ –oic acid เป็น –aldehyde ตัวอย่างเช่น
O O
ชื่อ IUPAC H C H H3C C H
เมทาน าล เอทานาล
(methanal) (ethanal)
ชื่อสามัญ ฟอร์มาลดีไฮด์ อะเซทาล ดีไฮด์
(formaldehyde) (acetaldehyde)
การเรียกช ื่อคีโทนตามร ะบบ IUPAC ให้ตัดอักษร –e ออกจ ากชื่อของแอลเคนที่เป็นโครงสร้างหลัก แล้วเติม
–one แทน และร ะบตุ �ำ แหนง่ ข องห มคู่ โี ทน สว่ นช อื่ ส ามญั ข องค โี ทน ใหเ้ รยี กห มแู่ อลคลิ ห รอื แ อร ลิ ท ตี่ อ่ อ ยกู่ บั ห มคู่ ารบ์ อนลิ
O
เป็นคำ�นำ�หน้า ใช้ค ำ�ลงท้ายเป็น ketone ยกเว้นกรณีข อง H3C C CH3 ให้เรียกว่า แอซ ีโทน (acetone)
ชื่อ IUPAC O O
H3C C CH3 H3C C CH2CH3
โพพ าโนน บิวทาโนน
(propanone) (butanone)
ชื่อส ามัญ แอซ ีโทน เอทิลเมทิลคีโทน
(acetone) (ethyl methyl ketone)