Page 76 - การบริหารกิจการสื่อสาร
P. 76
12-66 การบรหิ ารกจิ การส่ือสาร
สิง่ ส�ำคัญในการผลติ โฆษณาทางวิทยุ คอื การใชเ้ สยี งประกอบพิเศษ (Sound Effect: SFX) เปน็ เสียงท่ี
ผลิตขึ้นมา เพื่อเลียนแบบเสียงจากธรรมชาติ เช่น เสียงฟ้าผ่า เสียงคนเดิน เป็นต้น เพื่อท�ำให้โฆษณา
น่าสนใจ และสมจริงมากขนึ้
สำ� หรบั การโฆษณาทม่ี กี ารบนั ทกึ เสยี ง มกี ระบวนการผลติ 4 ขนั้ ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ (Arens, Weigold
& Arens, 2013: 389)
1.2.1 ขั้นตอนก่อนการผลิต (The Preproduction Phase) เม่ือได้รับการอนุญาตในการ
ผลติ และมขี อ้ มลู พรอ้ มแลว้ กจ็ ดั การใหก้ ารผลติ ดำ� เนนิ ไปอยา่ งเรยี บรอ้ ย ตรงเวลา และภายใตง้ บประมาณ
ควบคุมดูแลโดยโปรดิวเซอรจ์ ากทมี งานบรษิ ัท หรอื จา้ งโปรดวิ เซอรอ์ สิ ระ (Freelace Producer) โดยต้งั
อยบู่ นพน้ื ฐานของบท ซง่ึ โปรดวิ เซอรจ์ ะเลอื กสตดู โิ อ กำ� หนดสง่ิ ทต่ี อ้ งใช้ และการเตรยี มงบประมาณสำ� หรบั
การผลติ
1.2.2 ขนั้ ตอนการผลติ (Production) เปน็ ขนั้ ตอนการผลติ โดยใชอ้ งคป์ ระกอบตา่ งๆ ไดแ้ ก่
การบนั ทึกเสียงพดู บันทกึ เสียงประกอบพิเศษโดยใชห้ ้องควบคุม (Control Room)
1.2.3 ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production) หลงั จากทอี่ งคป์ ระกอบตา่ งๆ ไดถ้ กู บนั ทกึ
เสียงแล้ว จะมีการตัดต่อเสียงเหล่านั้นเข้าด้วยกันตามบท มีการผสมเสียงและเลือกงานคร้ังท่ีดีท่ีสุด และ
วิศวกรเสยี ง (Sound Engineer) จะบนั ทกึ เพลง หรอื เสียงประกอบพิเศษ และเสียงพูดเขา้ ดว้ ยกัน ครน้ั
แล้วจะผสมเสยี งเพ่อื ให้ได้งานออกมาและส่งไปยงั สถานี
ตัวอย่าง สปอตโฆษณาวิทยุ น้�ำดื่ม ยี่ห้อสดช่ืน
เสยี งดนตร ี Fade in.....สนกุ สนาน........Fade Under
เสียงผ้หู ญงิ 1 โอ้ย ร้อนๆ ไมไ่ หวแลว้ พระอาทติ ยส์ าดสอ่ งแสงแดดแรงเหลือเกนิ
เสยี งผ้หู ญงิ 2 โวยวายอะไรนะ่ กอ้ ย เสยี งดังเชียว
เสยี งผหู้ ญงิ 1 ก ็อากาศร้อนน่ะสิเธอ ร้อนอย่างเดียวไม่พอ ตอนน้ีชั้นกระหายน�้ำ
มากๆ ด้วย แลว้ เธอไม่รอ้ นบ้างเลยเหรอ
เสยี งผ้หู ญงิ 2 ไมเ่ ลย เพราะชัน้ มนี ่ี
เสยี งประกอบ (SFX) Fade up ….เสยี งวง้ิ ๆ......
เสียงผหู้ ญงิ 2 น้�ำดื่ม สดช่นื เอาไปดืม่ ซะ
เสียงประกอบ (SFX) Fade up ….เสยี งดม่ื นำ�้ และชวี ิตชีวา......
เสยี งผูห้ ญงิ 1 และ 2 น้�ำดื่มสดชื่น ด่มื แล้ว สดช้นื สดช่ืน
1.3 การผลิตงานโฆษณาทางโทรทัศน์ (The Television Commercial Prduction Process)
การผลติ งานทางโทรทศั น์ ทงั้ โฆษณา รายการตา่ งๆ จะสำ� เรจ็ ไมไ่ ด้ หากขาดบคุ ลากรในการทำ� หนา้ ทตี่ า่ งๆ
ซง่ึ บุคลากรในการผลติ งานโทรทศั น์ แบ่งเปน็ ฝา่ ยต่างๆ ได้ดงั น้ี (ศกั ด์ิ กลนิ่ สุวรรณ, 2548: 5)