Page 18 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 18

11-8 ประวตั ิศาสตร์ไทย
       1. 	แนวความคิดเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม
       แนวความคดิ เศรษฐกจิ แบบเสรีนยิ ม เปน็ แนวคดิ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลในการดำ� เนนิ นโยบายทางเศรษฐกจิ

มาตัง้ แตส่ มยั สมบูรณาญาสทิ ธิราชย์ กลา่ วคอื “รฐั จะไม่เข้าไปย่งุ เก่ียวหรือเขา้ แทรกแซงระบบเศรษฐกิจ”
และแนวความคิดดังกล่าวยังคงมีบทบาทในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยเฉพาะ
ข้าราชการที่เคยปฏิบัติงานใกล้ชิดสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์และเข้ามามีส่วนร่วมบริหารประเทศใน
ระบอบใหม่ ไดแ้ ก่ พระยามโนปกรณน์ ติ ธิ าดา (กอ้ น หตุ ะสงิ ห)์ และพระยาโกมารกลุ มนตรี (ชน่ื โกมารกลุ
ณ นคร) ทงั้ สองคนมคี วามคดิ ทางเศรษฐกจิ รว่ มกนั วา่ “รฐั บาลจะไมเ่ ขา้ ไปแตะตอ้ งกบั โครงสรา้ งกรรมสทิ ธ์ิ
ในทรพั ย์สินและการผลิตท่ีดำ� เนินอยู่”

            1.1 	พระยามโนปกรณ์นิติธาดา เสนอวา่ โครงการเศรษฐกจิ ตอ้ งอยใู่ นวงจำ� กดั บางประการ
และจะตอ้ งเคารพตอ่ กรรมสทิ ธใ์ิ นสมบตั แิ ละเสรภี าพในการประกอบอาชพี ของบคุ คล เขาไดอ้ ธบิ ายบทบาท
รัฐบาลทางเศรษฐกิจไว้ว่าจะมีหน้าที่ท�ำการส�ำรวจและทดลองเพราะนอกจากจะท�ำให้มีความรู้แล้ว ถ้าท�ำ
ส�ำเรจ็ จึงจะขยายผล ถดั มาคอื อำ� นวยและสนับสนนุ ให้การด�ำเนินของสนิ คา้ จากผปู้ ลูกผู้ท�ำใหถ้ งึ ผู้กนิ ผใู้ ช้
และสดุ ท้ายคือ จดั การอบรมราษฎรกับการปลดเปลื้องภาระหนสี้ นิ ใหก้ บั ราษฎรโดยวิธีการประนอมหน้ี

            1.2 	พระยาโกมารกุลมนตรี ได้เขียนไว้ในบันทึกเร่ือง “โปรกรัมเศรษฐกิจของรัฐบาล”
(ลงวันที่ 13 กันยายน 2478) ความตอนหน่ึงระบุว่า รัฐบาลจะไม่ใช้วิธีใหม่ใดๆ ที่จะบังคับซื้อที่ดินและ
บงั คบั การจา้ งงาน เขาอธิบายว่า กจิ การท่ีรัฐบาลควรทำ� มี 4 แผนก คอื 1) กิจท่ีสงเคราะห์เศรษฐกจิ ทัว่ ไป
เนน้ การจดั ตงั้ สภาเงนิ ตรากบั การบำ� รงุ การคมนาคม 2) กจิ ทส่ี งเคราะหก์ สกิ รรม เนน้ สหกรณป์ ระเภทจดั ซอ้ื
ทด่ี นิ ใหช้ าวนากบั การตง้ั ฉางไซโล และการจดั สถานที ดลองทางการเกษตร 3) กจิ ทสี่ งเคราะหอ์ ตุ สาหกรรม
รัฐบาลจะให้ความคุ้มครองเครื่องหมายการค้า ดูแลสภาพการท�ำงานของกรรมกร และอาจร่วมลงทุนกับ
เอกชน และ 4) กจิ ท่ีสงเคราะห์พาณิชยกรรม เน้นการแสวงหาตลาดและการจัดใหม้ ผี ู้แทนการคา้ 9

            แนวความคดิ ทางเศรษฐกจิ ของทง้ั สองคน นอกจากเรอ่ื งรฐั จะไมเ่ ขา้ ไปยงุ่ เกย่ี วกบั กรรมสทิ ธ์ิ
ในทรพั ย์สินและการผลิต ทั้งสองยงั มองวา่ โครงการเศรษฐกิจและนโยบายเศรษฐกจิ ของรฐั บาลในขณะน้นั
สามารถด�ำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป การจัดต้ังสหกรณ์ในรูปแบบต่างๆ การร่วมลงทุนกับเอกชนก็
สามารถจดั ใหม้ ตี อ่ ไปได้ ความสมบรู ณใ์ นทางเศรษฐกจิ พงึ จะมขี นึ้ ได้ โดยพวกเขามองวา่ การเศรษฐกจิ เปน็
เร่ืองของการสมานฉนั ท์และพง่ึ พาอาศัยกนั ทั้งในระดับภายในและระหวา่ งประเทศ ระบบเศรษฐกจิ ไทยยัง
สามารถพฒั นาใหก้ า้ วหนา้ ยง่ิ ขนึ้ ได้ เพราะยงั มชี อ่ งวา่ งและความอดุ มสมบรู ณอ์ ยมู่ าก ขณะเดยี วกนั กอ็ ธบิ าย
สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจท่ีตกต�่ำในระยะนั้นว่าเป็นเพราะเศรษฐกิจโลกเป็นส�ำคัญ เม่ือทุกอย่างคล่ีคลาย
การกสกิ รรมภายในดีขึน้ เศรษฐกิจภายในประเทศย่อมจะกระเตอื้ งข้นึ 10

         9 นครนิ ทร์ เมฆไตรรตั น์. เรื่องเดียวกนั . น. 88.	
         10 เร่ืองเดียวกัน. น. 88-89.
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23