Page 22 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 22
11-12 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
สว่ นการจา่ ยเงนิ แผน่ ดนิ ควรจดั การใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพไมฟ่ มุ่ เฟอื ย ใหจ้ ดั แนวทางการใชจ้ า่ ยใหก้ ระตนุ้ สนิ คา้
ประเภทอาหาร และเสนอให้จัดต้ังธนาคารชาติอย่างเร่งด่วนเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ
นอกจากน้ีในปีถัดมาบันทึกเร่ือง “หลักการท่ีดิน” (พ.ศ. 2478) กล่าวอย่างชัดเจนว่า รัฐบาลจะยอมให้
คนต่างด้าวมีสิทธ์ิถือกรรมสิทธิ์ท่ีดินไม่ได้เป็นอันขาด การเข้าควบคุมการหัตถกรรม อุตสาหกรรมและ
กสกิ รรมอยา่ งเขม้ งวดเปน็ สง่ิ จำ� เปน็ แมว้ า่ จะเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการจา้ งเจา้ พนกั งานมากกต็ าม ทงั้ นเ้ี พอื่ ใหก้ าร
ผลติ ทางเศรษฐกิจมีสมรรถภาพสงู 17
- พระบรภิ ณั ฑย์ ทุ ธกิจ (เภา เพียรเลศิ ) ไดเ้ สนอ “โครงการเศรษฐกจิ บางอยา่ งส�ำหรบั
พ.ศ. 2481” รวมทง้ั โครงการตงั้ โรงสเี ขา้ ทป่ี ระชมุ คณะรฐั มนตรี กลา่ วไดว้ า่ ความคดิ ของพระบรภิ ณั ฑย์ ทุ ธกจิ
ต้องการให้รัฐบาลแทรกแซงในวงการคา้ อยา่ งแข็งขันไปพรอ้ มๆ กบั การสรา้ งพอ่ คา้ ไทย หรอื ทเ่ี รียกกันว่า
นโยบาย “เพาะ” พ่อค้าไทย ซ่ึงเป็นที่กล่าวถึงอย่างกว้างขวาง บ้างใช้ค�ำว่า “ลัทธิไทยยิสม์” ว่าเป็น
แนวทางของรัฐบาลในการชว่ ยใหค้ นไทยร่�ำรวยและเจริญรงุ่ เรืองสงู สดุ อย่างไมเ่ คยมมี าก่อน18
- พระพิศาลสุขุมวิท (ประสบ สุขุม) เปน็ ผทู้ ี่มีบทบาทส�ำคัญในการร่าง “โครงการ
อุตสาหกรรมแห่งชาติ” ท�ำหน้าที่เป็นรองประธานคณะกรรมการและประสานงานต่างๆ รวมท้ังติดต่อ
โดยตรงกับนายกรัฐมนตรี ซึ่งเขาได้เสนอว่าการสร้างอุตสาหกรรมแห่งชาติ แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่
ข้ันแรกเป็นอุตสาหกรรมท่ีพึงสร้างในทันที เป็นอุตสาหกรรมที่จะเป็นพี่เลี้ยงในอุตสาหกรรมอ่ืนๆ เป็น
อตุ สาหกรรมทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งการด�ำรงชพี จำ� เปน็ สำ� หรบั รฐั และใชว้ ตั ถดุ บิ ภายในประเทศไทย ขน้ั ตอ่ ไป เปน็
อุตสาหกรรมท่ีท�ำผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบซึ่งเรามีอยู่อย่างล้นเหลือ และท�ำได้ในราคาต่�ำพอท่ีจะส่งออกไป
จ�ำหน่ายขายในตลาดต่างประเทศ และตอนทา้ ยเขาสรุปเรือ่ งการจัดจ�ำหนา่ ยวา่ รัฐบาลกค็ งเข้าดำ� เนินการ
อีกเช่นกัน โดยเข้าควบคุมร้านจ�ำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรมทั่วราชอาณาจักร รวมท้ังท�ำการโฆษณาให้
คนไทยทกุ คนเข้าร่วมลงทนุ ลงแรง และหันเข้าใช้ของไทยทำ� 19
- หลวงวิจิตรวาทการ (กิมเหลียง วัฒนปฤดา) นกั คดิ ชาตนิ ยิ มทมี่ บี ทบาทในรฐั บาล
จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในการสร้างความคิดชาตินิยมผ่านงานทางวัฒนธรรม อาทิ วรรณกรรม
ประวัติศาสตร์ และบทละคร จากหนังสือเรื่อง “อนาคตของประเทศไทย” (ปี 2492) แนวคิดของ
หลวงวจิ ติ รวาทการ ปฏเิ สธทง้ั ระบบเสรนี ยิ มและระบบสงั คมนยิ ม และไดเ้ สนอระบบเศรษฐกจิ แบบชาตนิ ยิ ม
คัดค้านการริบกรรมสิทธิ์ในที่ดินและการรวมแรงงานเป็นของรัฐ โดยเสนอให้ทุกคนมีที่ดินตามควรแก่
อัตภาพ เพราะเห็นว่ามนุษย์ซึ่งติดที่ดินและหาเล้ียงชีพบนที่ดินย่อมรักชาติรักประเทศมากกว่ามนุษย์ท่ีมี
อาชีพร่อนเร่ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าไม่มีหลักฐานใดบ่งบอกว่าหลวงวิจิตรวาทการเขียนโครงการเศรษฐกิจ
เสนอเขา้ สทู่ ปี่ ระชมุ สภาผแู้ ทนราษฎรหรอื ทปี่ ระชมุ คณะรฐั มนตรี แตค่ วามคดิ ของเขาเปน็ ขอ้ เสนอทช่ี ดั เจน
กับแนวทางเดียวกับนักคิดชาตินิยมอ่ืนๆ คือ ต้องการให้รัฐเข้าควบคุมแทรกแซงและน�ำองค์กรทาง
เศรษฐกจิ 20
17 เรอื่ งเดียวกนั . น. 89-90.
18 เรอื่ งเดยี วกัน.
19 เร่อื งเดยี วกนั .
20 เรื่องเดยี วกนั . น. 91-92.