Page 24 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 24
11-14 ประวตั ิศาสตรไ์ ทย
เรื่องท่ี 11.1.2
สภาพเศรษฐกิจและการด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจ
สภาพเศรษฐกิจและการด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจสมัยรัชกาลท่ี 7 (พ.ศ. 2468-2475)
สมยั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รฐั บาลตอ้ งเผชญิ ปญั หาวกิ ฤตทางเศรษฐกจิ อยา่ งรนุ แรง
พระองคข์ น้ึ ครองราชยเ์ ปน็ ชว่ งเวลาเดยี วกบั ทเี่ ศรษฐกจิ โลกผนั ผวนภายหลงั สงครามโลกครง้ั ที่ 1 ประกอบ
กบั ปญั หาการขยายตวั ของเศรษฐกจิ โลก ความไรเ้ สถยี รภาพของระบบอตั ราแลกเปลยี่ นในระบบมาตรฐาน
ทองค�ำ ปัญหาผลผลิตทางการเกษตรล้นเกิน การเพ่ิมข้ึนของการกีดกันทางการค้า การหดตัวของการ
ลงทนุ จากตา่ งประเทศ ตามมาด้วยปญั หาเศรษฐกจิ ตกต่�ำทว่ั โลกในทศวรรษ 2470 สภาพการณ์ดังกล่าว
ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยท้ังเศรษฐกิจการส่งออกท่ีขยายตัวน้อยลง ราคาข้าวตกต�่ำลง และปัญหา
เศรษฐกิจภายในประเทศท่ีส�ำคัญคืองบประมาณขาดดุล (4 ปีติดต่อกันต้ังแต่ปลายรัชกาลที่ 6) ปัญหา
ฝนแลง้ ใน พ.ศ. 2463 มผี ลตอ่ การหา้ มสง่ ออกขา้ ว และปญั หาการขาดทนุ อตั ราแลกเปลยี่ น ปญั หาดงั กลา่ ว
ท�ำให้เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสถานะทางการเงินและการคลงั ของประเทศส่นั คลอนเปน็ อย่างมาก
รัฐบาลในสมยั รัชกาลท่ี 7 แกป้ ญั หาเศรษฐกจิ โดยใชน้ โยบายตัดงบประมาณรายจ่าย ซึ่งส่งผลต่อ
ความชะงกั งนั ของโครงการลงทนุ ประกอบกบั การลดกำ� ลงั คนในระบบราชการ การตดั ลดงบประมาณ ทำ� ให้
เกิดภาพลักษณ์ของระบบราชการที่ไม่สามารถควบคุมการบริหารและงบประมาณที่มีประสิทธิภาพได้
ชนช้ันน�ำในเมืองหลวงและข้าราชการสูญเสียความเช่ือม่ันต่อรัฐบาล และเป็นปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่ง
ท่นี ำ� ไปสกู่ ารเปล่ยี นแปลงการปกครองในเดือนมถิ ุนายน พ.ศ. 247524
รัชกาลที่ 7 ทรงตง้ั “สภาการคลัง” ขึ้นเม่ือวนั ที่ 30 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2468 ท�ำหน้าทป่ี รึกษาเร่ือง
ปญั หาเศรษฐกจิ โดยเฉพาะ เพอ่ื ใหก้ ารจดั งบประมาณใหเ้ ขา้ สดู่ ลุ ยภาพ พรอ้ มกบั ตงั้ “กรรมการองคมนตร”ี
นอกจากน้ี รฐั บาลยังใชว้ ธิ กี ารก้เู งินสำ� หรบั ทางรถไฟและทดน้ำ� เริม่ จากการจัดท�ำงบประมาณ พ.ศ. 2469
โดยในครั้งน้ีเป็นการกู้เงินเพื่อน�ำส่วนหนึ่งมาชดเชยรายจ่าย แสดงถึงฐานะทางการเงินของประเทศ
ไมม่ นั่ คง25 จะเหน็ ไดว้ า่ พระองคด์ ำ� เนนิ นโยบายแบบอนรุ กั ษน์ ยิ มมงุ่ แกไ้ ขปญั หาเสถยี รภาพดา้ นเศรษฐกจิ
และการคลังโดยการจัดสรรงบประมาณรายได้และรายจ่ายให้เพียงพอต่อการบริหารราชการแผ่นดิน
ดว้ ยการควบคมุ งบประมาณรายจ่ายให้อยู่ในก�ำลังของรายได้ และเพิม่ รายได้โดยการตั้งภาษปี ระเภทใหม่
และเพมิ่ อตั ราภาษเี กา่ ทง้ั นร้ี ฐั บาลไดด้ ำ� เนนิ การสง่ เสรมิ การคา้ ขาย โดยใหป้ ระชาชนเพม่ิ ผลผลติ โดยเฉพาะขา้ ว
อกี ทงั้ ยงั สง่ เสริมโครงการพัฒนาเศรษฐกจิ
24 พอพันธ์ อุยยานนท์. (2558). เศรษฐกิจไทยในสมยั รัชกาลท่ี 7: รักษาเสถยี รภาพ ปูพน้ื ฐานการพฒั นา. กรงุ เทพฯ:
คบไฟ. น. 2-3.
25 ปยิ นาถ บุนนาถ. (2553). ประวัติศาสตร์ไทยสมยั ใหม่ ต้งั แตก่ ารทำ� สนธิสัญญาบาวริงถึง “เหตุการณ์ 14 ตุลาคม”
พ.ศ. 2516. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . น. 112.