Page 19 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 19

เศรษฐกิจไทยสมัยรัชกาลท่ี 7–พ.ศ. 2519 11-9
       2. 	แนวความคิดทางเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
       ผทู้ น่ี ำ� เสนอแนวคดิ ทางเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม ไดแ้ ก่ หลวงประดษิ ฐม์ นธู รรม ผไู้ ดร้ บั มอบหมาย
จากคณะราษฎรและรฐั บาลใหร้ า่ งแผนเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ ไดน้ ำ� เสนอ “เคา้ โครงการเศรษฐกจิ แหง่ ชาต”ิ ตอ่
คณะรฐั มนตรี ในปี 2475 และพระสารสาสนพ์ ลขนั ธ์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเศรษฐการในรฐั บาลพระยา-
พหลพลพยหุ เสนา (29 มนี าคม 2477–22 กันยายน 2477) เสนอเค้าโครงการเศรษฐกจิ ทว่ั ไป ใน พ.ศ.
2477

            2.1 หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) กอ่ นหนา้ นไ้ี ด้เสนอแนวคดิ เก่ียวกับหนา้ ท่ี
ของรฐั ในทางเศรษฐกจิ และเมอื่ เกดิ การเปลย่ี นแปลงการปกครอง 2475 ไดเ้ ปน็ ผรู้ า่ งแผนเกย่ี วกบั เศรษฐกจิ
ท่ีรู้จักกันนาม “เค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ” (หรือ สมุดปกเหลือง) ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ได้
อาศัยหลักการของลทั ธิโซลิดาริสม์ (Solidarism) ซ่งึ เป็นสำ� นักคดิ สังคมนิยมของฝรั่งเศสในช่วงตน้ ครสิ ต์
ศตวรรษท่ี 1911 กล่าวได้วา่ หลวงประดษิ ฐม์ นธู รรม ไดน้ ำ� เสนอแนวความคดิ ทางเศรษฐกจิ แบบสังคมนยิ ม
ผา่ น “เคา้ โครงการเศรษฐกจิ แหง่ ชาต”ิ ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ หลกั การสำ� คญั ของเคา้ โครงการเศรษฐกจิ ฯ สรปุ
ได้ดงั น้ี

                1) 	ราษฎรท่ีเกิดมาย่อมได้รับประกันจากรัฐบาลว่าตั้งแต่เกิดจนกระทั่งส้ินชีพ ใน
ระหวา่ งนนั้ จะเปน็ เดก็ เจบ็ ปว่ ย พกิ าร หรอื ชรา ทำ� งานไมไ่ ดก้ ด็ ี ราษฎรจะไดม้ อี าหาร เครอ่ื งนงุ่ หม่ สถาน-
ท่ีอยู่ ปจั จยั แหง่ การดำ� รงชีพ

                2) 	การส่งเสริมให้ราษฎรมีความสมบูรณ์น้ัน รัฐต้องเป็นผู้จัดการเศรษฐกิจเสียเอง
รฐั บาลจะตอ้ งถอื หลกั ว่า จะตอ้ งจดั การกสกิ รรม อุตสาหกรรมทกุ อยา่ งใหม้ ขี ้ึน โดยแบ่งการเศรษฐกจิ ออก
เปน็ สหกรณต์ า่ งๆ เชน่ สหกรณใ์ นทางกสิกรรม สหกรณใ์ นทางอุตสาหกรรม เปน็ ตน้ สหกรณแ์ ตล่ ะแห่ง
ย่อมรวมกันประกอบการเศรษฐกิจครบรูป คอื รว่ มกนั ประดิษฐ์ ร่วมกนั ในการจ�ำหน่าย ขายสง่ ร่วมกันใน
การจัดหาของอุปโภค ให้แก่สมาชิก และร่วมกันในการสร้างสถานท่ีอยู่ โดยรัฐบาลเป็นผู้ออกท่ีดินและ
เงนิ ทุน สมาชกิ สหกรณเ์ ปน็ ผ้อู อกแรง

                3) 	ท่ีดินท่ีรัฐบาลต้องซ้ือกลับคืน คือ ท่ีดินท่ีจะใช้ประกอบการเศรษฐกิจ เช่น ท่ีนา
หรอื ไร่ สว่ นทบ่ี ้านอยอู่ าศยั น้นั ไมจ่ ำ� เปน็ ท่ีรฐั บาลตอ้ งซ้อื คนื เวน้ ไว้แตเ่ จา้ ของประสงคจ์ ะขายแลกกับใบกู้
ในด้านแรงงาน หาทางท่ีจะบังคับให้ราษฎรท่ีเกิดมาหนักโลก เป็นผู้ไม่ประกอบการเศรษฐกิจ หรือ
กิจการใดให้เหมาะสมกับแรงงานตน อาศัยอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และสถานท่ีของผู้อื่น หรือบางทีท�ำงาน
เลก็ ๆ น้อยๆ เช่น ในกรุงเทพฯ หรือในหัวเมือง ซงึ่ เมอ่ื สังเกตตามบ้านของคนชน้ั กลางหรอื ตามบา้ นคน
ม่ังมีแล้ว จะเห็นผู้ท่ีอาศัยกินมีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ให้ราษฎรประเภทน้ีท�ำงาน ส่วนบุคคลท่ีอยู่ในฐานะ
ไมเ่ ทยี่ งแท้ ผูท้ ไี่ มส่ ามารถแสดงไดว้ ่าประกอบเศรษฐกจิ ตามล�ำพงั ได้ ก็จ�ำเป็นต้องเปน็ ข้าราชการ

         11 นภาพร อติวานชิ ยพงศ.์ (2552). ประวตั ศิ าสตร์ความคดิ เศรษฐศาสตร์การเมอื งไทย. กรงุ เทพฯ: สรา้ งสรรค.์ น. 30.
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24